Page 13 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจลิ้นจี่
P. 13

1-4








                                     4) การวิเคราะหขอมูลดานเศรษฐกิจ
                                         - การวิเคราะหเพื่อประเมินความเหมาะสมของพืชกับสภาพพื้นที่ประกอบกับ

                       ขอมูลเชิงพื้นที่ของผลผลิตลิ้นจี่ในแตละพันธุที่เกษตรกรเพาะปลูกในกลุมดินที่มีระดับความเหมาะสม

                       ที่แตกตางกัน เปนการวิเคราะหขอมูลเพื่อใหสามารถคัดเลือกพื้นที่ที่เหมาะสมทั้งทางดานกายภาพ
                       ของพื้นที่และผลตอบแทนทางดานเศรษฐกิจที่มีลักษณะคลายคลึงกันในการนี้จึงไดใชปจจัย

                       ดานผลผลิตเฉลี่ยตอไรของการผลิตลิ้นจี่ในกลุมดินที่มีระดับความเหมาะสมสูง(S1) และกลุมดิน

                       ที่มีระดับความเหมาะสมปานกลาง (S2) เปนเครื่องมือในการตัดสินใจ โดยใชหลักการวิเคราะห
                       ทางดานสถิติ โดยใชโปรแกรมสําเร็จรูป SPSS เปนเครื่องมือในการตัดสินใจ คือ การวิเคราะห

                       ความแปรปรวนแบบทางเดียว (Oneway-ANOVA) ไดแก


                                              สมมุติฐาน          H   :  µ   = µ    =  …µ
                                                                  1
                                                                      2
                                                                             n
                                                             0
                                                                    H   :  H    ไมถูกตอง
                                                             1
                                                                  o
                                              ใชการวิเคราะหของ   “Scheffe”
                                         ถาคา Sig. of F มากกวาหรือเทากับ 0.05 แสดงวายอมรับ H  หมายความวา
                                                                                             o
                       ผลผลิตเฉลี่ยตอไรของการผลิตลิ้นจี่ ไมแตกตางกัน

                                         ถาคา Sig.  of  F นอยกวา 0.05 แสดงวาปฏิเสธ H  หมายความวา ผลผลิตเฉลี่ย
                                                                                  o
                       ตอไรของการผลิตลิ้นจี่ แตกตางกัน
                                         ซึ่งจากผลการวิเคราะหโดยใชหลักการทางสถิติ พบวา คา Sig. of F มากกวา

                       0.05 แสดงวา ผลผลิตเฉลี่ยตอไรของการผลิตลิ้นจี่ในกลุมดินที่มีระดับความเหมาะสมสูง(S1)

                       และกลุมดินที่มีระดับความเหมาะสมปานกลาง(S2) ไมแตกตางกันในทุกพันธุ
                                         - การวิเคราะหขอมูลเพื่อประเมินผลตอบแทนทางดานเศรษฐกิจ ไดนําวิธีการ

                       จากระบบของ FAO Frame work (1983) มาประยุกตใชรวมกับหลักการทางสถิติทําการวิเคราะหขอมูล

                       การผลิตในปการเพาะปลูก 2547/48 นํามาบันทึกลงในโปรแกรมสําเร็จรูป Microsoft  Excel
                       แลวนํามาวิเคราะหขอมูลเพื่อหาตนทุนผันแปร ตนทุนคงที่ รายได(มูลคาผลผลิต) ผลตอบแทน

                       เหนือตนทุนเงินสด ผลตอบแทนเหนือตนทุนผันแปร ผลตอบแทนเหนือตนทุนทั้งหมด มูลคา

                       ปจจุบันของตนทุน มูลคาปจจุบันของรายได มูลคาปจจุบันของผลตอบแทนเฉลี่ยตอป อัตราสวน

                       ของรายไดตอตนทุนทั้งหมด และระยะเวลาคืนทุนของการผลิตลิ้นจี่ในแตละพันธุที่เกษตรกรทําการผลิต
                       อยูในปจจุบัน ซึ่งผลตอบแทนจะสรุปออกมาในรูปของมูลคาบาทตอไร







                       เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจลิ้นจี่                                                                                             สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน
   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18