Page 19 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจลิ้นจี่
P. 19

2-5






                                     2)  ฤดูฝน  เริ่มตนประมาณกลางเดือนพฤษภาคมถึงกลางเดือนตุลาคม เมื่อมรสุม
                       ตะวันตกเฉียงใตพัดปกคลุมประเทศไทย และรองความกดอากาศต่ําพาดผานประเทศไทยทําใหมี

                       ฝนชุกทั่วไป  รองความกดอากาศต่ํานี้ปกติจะพาดผานภาคใตในระยะตนเดือนพฤษภาคม

                       แลวจึงเลื่อนขึ้นไปทางเหนือตามลําดับ จนถึงชวงประมาณปลายเดือนมิถุนายนจะพาดผานอยูบริเวณ
                       ประเทศจีนตอนใต ทําใหฝนในประเทศไทยลดลงระยะหนึ่งและเรียกวา ฝนทิ้งชวง ซึ่งอาจนาน

                       ประมาณ 1-2  สัปดาห หรือบางปอาจเกิดขึ้นรุนแรงและมีฝนนอยนานนับเดือน ในเดือนกรกฎาคม

                       ปกติรองความกดอากาศต่ําจะเลื่อนกลับลงมาจากทางตอนใตของประเทศจีนพาดผานบริเวณ
                       ประเทศไทยอีกครั้ง  ทําใหมีฝนชุกตอเนื่องและปริมาณฝนเพิ่มขึ้น ตั้งแตชวงปลายเดือนกรกฎาคม

                       เปนตนไป  จนกระทั่งมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือพัดเขามาปกคลุมประเทศไทยแทนที่มรสุม

                       ตะวันตกเฉียงใตประมาณกลางเดือนตุลาคม  ประเทศไทยตอนบนจะเริ่มมีอากาศเย็นและฝนลดลง

                       โดยเฉพาะภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ  เวนแตภาคใตยังคงมีฝนชุกตอไปจนถึงเดือน
                       ธันวาคม และมักมีฝนหนักถึงหนักมากจนกอใหเกิดอุทกภัย โดยเฉพาะภาคใตฝงตะวันออก ซึ่งจะมี

                       ปริมาณฝนมากกวาภาคใตฝงตะวันตก อยางไรก็ตามการเริ่มตนฤดูฝนอาจจะชาหรือเร็วกวากําหนดได

                       ประมาณ 1-2 สัปดาห

                                     3)  ฤดูหนาว  เริ่มตนประมาณกลางเดือนตุลาคมถึงกลางเดือนกุมภาพันธ เมื่อมรสุม
                       ตะวันออกเฉียงเหนือ  พัดปกคลุมประเทศไทยตั้งแตกลางเดือนตุลาคม ในชวงกลางเดือนตุลาคม

                       นาน 1 - 2 สัปดาห เปนชวงเปลี่ยนฤดูจากฤดูฝนเปนฤดูหนาว อากาศแปรปรวนไมแนนอน อาจเริ่มมี

                       อากาศเย็นหรืออาจยังมีฝนฟาคะนอง โดยเฉพาะบริเวณภาคกลางตอนลาง และภาคตะวันออกลงไป
                       ซึ่งจะหมดฝนและเริ่มมีอากาศเย็นชากวาภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

                            2.2.3 ปริมาณฝน

                                     ปริมาณฝนรวมตลอดปเฉลี่ยทั่วประเทศมีคาประมาณ 1,580  มิลลิเมตร  ปริมาณฝน
                       ในแตละพื้นที่เปลี่ยนแปลงไปตามลักษณะภูมิประเทศ  นอกเหนือจากการผันแปรตามฤดูกาล

                       บริเวณประเทศไทยตอนบนปกติจะแหงแลง และมีฝนนอยในฤดูหนาว เมื่อเขาสูฤดูรอนปริมาณฝน

                       จะเพิ่มขึ้นบาง  พรอมทั้งมีพายุฟาคะนองและเมื่อเขาสูฤดูฝนปริมาณฝนจะเพิ่มขึ้นมาก  โดยจะมี

                       ปริมาณฝนมากที่สุดในเดือนสิงหาคมหรือเดือนกันยายน  พื้นที่ที่มีปริมาณฝนมากสวนใหญจะอยู
                       ดานหนาทิวเขาหรือดานรับลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต ไดแก พื้นที่ทางดานตะวันตกของประเทศ

                       บริเวณอําเภอทองผาภูมิ จังหวัดกาญจนบุรี และภาคตะวันออก บริเวณจังหวัดจันทบุรี และตราด

                       โดยเฉพาะที่อําเภอคลองใหญ จังหวัดตราด  มีปริมาณฝนรวมตลอดปมากกวา 4,000  มิลลิเมตร
                       สวนพื้นที่ที่มีฝนนอยสวนใหญอยูดานหลังเขา จะพบที่บริเวณตอนกลางของภาคเหนือ ซึ่งไดแก

                       จังหวัดลําพูน ลําปาง แพร บริเวณภาคกลาง และดานตะวันตกของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ซึ่งไดแก





                       เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจลิ้นจี่                                     สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน
   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24