Page 16 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจลิ้นจี่
P. 16

2-2







                            2.1.2 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

                                     ภาคตะวันออกเฉียงเหนือหรือภาคอีสาน  ประกอบดวย 19  จังหวัด ไดแก  จังหวัด

                       กาฬสินธุ ขอนแกน ชัยภูมิ นครพนม นครราชสีมา บุรีรัมย มหาสารคาม มุกดาหาร ยโสธร รอยเอ็ด
                       เลย ศรีสะเกษ สกลนคร สุรินทร หนองคาย หนองบัวลําภู อํานาจเจริญ  อุดรธานี  และอุบลราชธานี

                       มีพื้นที่ประมาณ 104,356,755 ไร หรือ 1 ใน 3 ของพื้นที่ทั้งประเทศ

                                     ลักษณะภูมิประเทศของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภูมิประเทศทั้งภาคยกตัวสูง

                       เปนขอบแยกตัวออกจากภาคอื่นอยางชัดเจน มีทิวเขาใหญกั้นอยูโดยรอบทางดานทิศตะวันตก
                       และทางทิศใต มีภูเขาขนาดเล็กอยูประปรายภายในของภาค ทางทิศตะวันตกของภาคมีทิวเขาใหญ

                       ทอดยาวติดตอจากเหนือลงมาทางใต คือ ทิวเขาเพชรบูรณทางตอนเหนือและทิวเขาดงพญาเย็น

                       ทางตอนใต ทิวเขาทั้งสองนี้กั้นพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือจากภาคเหนือ ภาคกลาง และ

                       ภาคตะวันออก มีความสูงเฉลี่ย 500-1,000 เมตรจากระดับน้ําทะเลปานกลาง มียอดเขาที่สูงที่สุด
                       ในภาคอีสาน คือ ยอดภูหลวง  มีความสูง 1,571  เมตรจากระดับน้ําทะเลปานกลาง  และภูกระดึง

                       สูง 1,325 เมตรจากระดับน้ําทะเลปานกลาง ทางใตของภาคมีทิวเขาสันกําแพงและทิวเขาพนมดงรัก

                       ทอดยาวจากทางภาคตะวันตกตอไปตลอดเขตแดนประเทศราชอาณาจักรกัมพูชาและประเทศ
                       สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว พื้นที่โดยทั่วไปมีลักษณะเปนที่ราบมีชื่อเรียกวา ที่ราบสูง

                       โคราช โดยมีขอบสูงในบริเวณทิวเขาทางทิศตะวันตกและทิศใต และคอยลาดเอียงไปทาง

                       ตะวันออกสูแมน้ําโขง บริเวณตอนในคอนไปทางตะวันออกเฉียงเหนือยังมีทิวเขาเตี้ยๆ เรียกวา
                       ทิวเขาภูพาน และมีภูเขาขนาดเล็กกระจัดกระจาย ทําใหลักษณะพื้นที่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือมี

                       ลักษณะเปนแองที่ราบใหญ 2  ตอน คือ แองสกลนครและแองโคราช แองที่ราบทั้ง 2  มีพื้นที่

                       กวางขวางครอบคลุมพื้นที่หลายจังหวัด

                            2.1.3 ภาคกลาง
                                     พื้นที่ภาคกลางประกอบดวย 18  จังหวัด  และ 1  เขตการปกครองพิเศษ ไดแก

                       จังหวัดกาญจนบุรี  ชัยนาท นครนายก นครปฐม นนทบุรี ปทุมธานี            ประจวบคีรีขันธ

                       พระนครศรีอยุธยา เพชรบุรี ราชบุรี ลพบุรี สมุทรปราการ  สมุทรสงคราม  สมุทรสาคร สระบุรี
                       สิงหบุรี สุพรรณบุรี และอางทอง  สวนกรุงเทพมหานครไมนับวาเปนจังหวัดเนื่องจากเปนเขต

                       การปกครองพิเศษ มีพื้นที่ประมาณ 64,608,921 ไร

                                     ภูมิประเทศมีลักษณะเปนที่ราบลุมที่เกิดจากการที่แมน้ําพัดพาเอาเศษหิน เศษดิน

                       กรวดทราย และตะกอนมาทับถมพอกพูนมาเปนเวลานาน ระดับพื้นที่มีลักษณะลาดลงมาทางใต
                       พื้นที่ราบสวนใหญ มีความสูงโดยประมาณนอยกวา 80 เมตรจากระดับน้ําทะเลปานกลาง มีภูเขาเตี้ยๆ เกิดขึ้น





                       เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจลิ้นจี่                                     สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน
   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21