Page 159 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจลิ้นจี่
P. 159

6-3








                       6.3   สรุปและขอเสนอแนะ


                                การกําหนดเขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจลิ้นจี่นี้ เปนการพิจารณาเฉพาะพื้นที่เกษตรกรรม
                       ตามรายงานเขตความเหมาะสมของดิน กับการปลูกพืชเศรษฐกิจเทานั้น ไมรวมพื้นที่ในเขตสงวน

                       ของรัฐ ไดแก เขตปาสงวนแหงชาติ เขตอุทยานแหงชาติ เขตรักษาพันธุสัตวปา ฯลฯ ซึ่งในหลายพื้นที่

                       มีราษฎรบุกรุกพื้นที่เพื่อใชประโยชนที่ดินเพื่อการเกษตรกรรม ทั้งการปลูกพืชหมุนเวียน ทําไร

                       เลื่อนลอย การปลูกไมยืนตน ไมผล รวมทั้ง การปลูกลิ้นจี่  ซึ่งพื้นที่ปลูกลิ้นจี่ในเขตสงวนของรัฐ
                       ดังกลาวนี้ พบมากในบริเวณภาคเหนือของประเทศในเขตจังหวัดเชียงใหม เชียงราย นาน พะเยา

                       และจังหวัดลําปาง มีเนื้อที่รวมประมาณหนึ่งแสนไร  ซึ่งปจจุบันพื้นที่ดังกลาวนี้ยังคงเปน

                       พื้นที่ปลูกลิ้นจี่ ที่ใหผลผลิตสงปอนตลาดทั้งในประเทศและตางประเทศอยางตอเนื่อง ซึ่งตองรอ
                       ความเดนชัดของมาตรการการใชที่ดินในเขตสงวนของรัฐตอไป ดังนั้นการกําหนดเขตการใชที่ดิน

                       พืชเศรษฐกิจลิ้นจี่ ในรายงานฉบับนี้  พื้นที่ในเขตการใชที่ดินมีความเหมาะสมมาก (Z-I) และเขต

                       การใชที่ดินมีความเหมาะสมปานกลาง (Z-II)  จึงเปนการกําหนดเขตบริเวณ ซึ่งที่ดินมีความเหมาะสม

                       สําหรับลิ้นจี่และเกษตรกรไดใชที่ดินบริเวณดังกลาวปลูกลิ้นจี่อยูในปจจุบัน ดังนั้นจึงจําเปนอยางยิ่ง
                       ที่เกษตรกรและสวนราชการที่เกี่ยวของ ตองรวมมือกันในการพัฒนา ปรับปรุง ทั้งเรื่องปริมาณ

                       ผลผลิตตอไร และคุณภาพของลิ้นจี่ใหสูงขึ้น สวนเขตการใชที่ดินที่มีศักยภาพในการผลิต (Z-III)

                       เปนการกําหนดเขตบริเวณซึ่งที่ดินมีความเหมาะสมสําหรับลิ้นจี่ในระดับปานกลางถึงสูง แตปจจุบัน
                       ไมมีการใชที่ดินปลูกลิ้นจี่ สวนใหญเกษตรกรมีการใชที่ดินในบริเวณนี้ปลูกพืชไรอายุสั้นทั่วไป

                       ซึ่งไมมีการปลูกไมผลหรือไมยืนตน พื้นที่ในเขตนี้กําหนดไวเพื่อรองรับการปลูกลิ้นจี่ทดแทน

                       จากสวนที่อาจจะตองมีการยายพื้นที่ปลูกในเขตสงวนของรัฐ ทั้งนี้การกําหนดเขตการใชที่ดิน
                       บริเวณนี้เปนการพิจารณาจากฐานขอมูลทางกายภาพของทรัพยากรดินและลักษณะภูมิอากาศ

                       ที่เหมาะสมสําหรับลิ้นจี่ แตจากคุณลักษณะของลิ้นจี่เปนพืชที่ตองการน้ําโดยเฉพาะในระยะเริ่มปลูก

                       ระยะออกดอกและติดผล ดังนั้นการสงเสริมปลูกลิ้นจี่ในเขตนี้จําเปนอยางยิ่งที่จะตองพิจารณาถึง
                       แหลงน้ําในพื้นที่สําหรับการเพาะปลูกที่เพียงพอ รวมถึงการยอมรับของชุมชนเปนหลัก
















                       เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจลิ้นจี่                                                                                             สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน
   154   155   156   157   158   159   160   161   162   163   164