Page 157 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจลิ้นจี่
P. 157

บทที่ 6

                                                         เขตการใชที่ดิน



                                การจัดทําเขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจของกระทรวงเกษตรและสหกรณเปนยุทธศาสตรหนึ่ง

                       ที่มุงเนนการพัฒนาการเกษตร ตั้งแตการผลิต การแปรรูป การตลาดแบบครบวงจร เพื่อการตอบสนอง

                       ความตองการของการบริโภคภายในประเทศไดอยางเพียงพอ รวมถึงการสงออกไปยังตลาด
                       ตางประเทศ ซึ่งการจัดทําเขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจลิ้นจี่ มีหลักเกณฑและเขตการใชที่ดิน ดังนี้



                       6.1   หลักเกณฑที่ใชกําหนดเขตการใชที่ดิน


                                การกําหนดเขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจลิ้นจี่ เปนการพิจารณากําหนดเขตการใชที่ดิน

                       ภายในพื้นที่เกษตรกรรมตามรายงานเขตความเหมาะสมของดินกับการปลูกพืชเศรษฐกิจ ซึ่งพื้นที่
                       เกษตรกรรมของประเทศมีเนื้อที่รวม ประมาณ 165 ลานไร ในพื้นที่เกษตรกรรมดังกลาวได

                       ดําเนินการวิเคราะหเพื่อประเมินคุณภาพที่ดินทั้งระดับความตองการปจจัยสําหรับลิ้นจี่ ดานคุณภาพของดิน

                       เพื่อจัดชั้นความเหมาะสมของที่ดินสําหรับลิ้นจี่ รวมทั้งการวิเคราะหขอมูลดานเศรษฐกิจและสังคม
                       ปจจุบันกระทรวงเกษตรและสหกรณ ไดดําเนินการจัดทํายุทธศาสตรการผลิตพืชเศรษฐกิจลิ้นจี่

                       ของประเทศ  โดยกําหนดเปาหมายพื้นที่ปลูกลิ้นจี่ของประเทศในป 2552 ใหมีพื้นที่เพาะปลูก

                       ประมาณ 100,000 ไร ซึ่งสามารถกําหนดหลักเกณฑของการแบงเขตการใชที่ดินไดดังนี้
                                1.   เขตการใชที่ดินมีความเหมาะสมมาก (Z-I) เปนบริเวณซึ่งที่ดินมีระดับความเหมาะสม

                       ทางกายภาพของดินสูง (S1) ถึงระดับความเหมาะสมทางกายภาพของดินปานกลาง (S2) สําหรับลิ้นจี่

                       สภาพการใชที่ดินบริเวณนี้ในปจจุบันเกษตรกรปลูกลิ้นจี่

                                2.  เขตการใชที่ดินมีความเหมาะสมปานกลาง (Z-II) เปนบริเวณซึ่งที่ดินมีระดับ
                       ความเหมาะสมทางกายภาพของดินเล็กนอย (S3)  สําหรับลิ้นจี่ สภาพการใชที่ดินบริเวณนี้ใน

                       ปจจุบันเกษตรกรปลูกลิ้นจี่

                                3.  เขตการใชที่ดินที่มีศักยภาพในการผลิต (Z-III) เปนบริเวณซึ่งที่ดินมีระดับความเหมาะสม

                       ทางกายภาพของดินสูง (S1) ถึงระดับความเหมาะสมทางกายภาพของดินปานกลาง (S2)
                       สําหรับลิ้นจี่ สภาพการใชที่ดินบริเวณนี้ในปจจุบันเกษตรกรใชพื้นที่เพาะปลูกพืชไรอายุสั้นทั่วไป

                       โดยพื้นที่บริเวณนี้ไมมีการใชที่ดินเพาะปลูกลิ้นจี่รวมถึงไมผลและไมยืนตนอื่นๆ

                            โดยหลักเกณฑที่ใชกําหนดเขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจลิ้นจี่ดังกลาวขางตน ไดพิจารณา
                       คัดเลือกพื้นที่ในเขตการใชที่ดินมีความเหมาะสมมาก (Z-I) เปนอันดับแรก ถาไดพื้นที่ไมเพียงพอ
   152   153   154   155   156   157   158   159   160   161   162