Page 10 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจลิ้นจี่
P. 10

บทที่ 1

                                                             บทนํา



                       1.1  หลักการและเหตุผล



                                สภาวะเศรษฐกิจของโลกปจจุบันเปนไปในลักษณะของการแขงขัน รวมทั้งการผลิต
                       ทางดานเกษตรกรรมซึ่งมีผลกระทบโดยตรงตอเกษตรกรไทย ดังนั้นรัฐบาลจึงมีนโยบาย

                       ในการสนับสนุนเตรียมพรอมเพื่อเพิ่มศักยภาพสินคาเกษตรมุงสูมาตรฐานสากลเพื่อการแขงขัน

                       กระทรวงเกษตรและสหกรณเปนโครงสรางหลักของประเทศที่มุงสูภารกิจสําคัญในการพัฒนา

                       ดานการผลิตสินคาเกษตรใหมีความแข็งแกรงไดมาตรฐาน มีประสิทธิภาพเปนที่ยอมรับแหงสากล
                       ภายใตยุทธศาสตรหลักของกระทรวงเกษตรและสหกรณ  การปรับโครงสรางสินคาเกษตรเปนหนึ่งใน

                       ยุทธศาสตรของกระทรวงเกษตรและสหกรณที่มีเปาหมายความสําเร็จที่จะพัฒนาการเกษตร ตั้งแตการผลิต

                       การแปรรูปและการตลาด แบบครบวงจร  ดานการผลิต ปจจัยการผลิตที่สําคัญเบื้องตนคือที่ดิน
                       โดยที่กรมพัฒนาที่ดินเปนหนวยงานหลักมีหนาที่รับผิดชอบในการพัฒนาโครงสรางพื้นฐาน

                       ทรัพยากรดินโดยการฟนฟูปรับปรุงบํารุงดินใหมีความอุดมสมบูรณมีศักยภาพในการผลิต ตลอดจน

                       มีการกําหนดเขตการใชที่ดิน  การอนุรักษดินและน้ําเพื่อใหมีการใชที่ดินในการปลูกพืชในพื้นที่
                       ที่เหมาะสมสามารถใชทรัพยากรอยางยั่งยืน

                                ลิ้นจี่เปนไมผลกึ่งเมืองรอนชนิดหนึ่งที่มีความสําคัญทางเศรษฐกิจของประเทศไทย

                       และเปนพืชเศรษฐกิจที่สําคัญของภาคเหนือโดยเฉพาะภาคเหนือตอนบนบริเวณจังหวัดเชียงราย
                       เชียงใหม และพะเยา เพราะมีสภาพภูมิอากาศที่มีความเหมาะสมมาก ลิ้นจี่เปนไมผลที่นิยมปลูกกันมา

                       เปนเวลานานแลว จากขอมูลของกรมสงเสริมการเกษตร พบวา ในป 2546 มีเนื้อที่เพาะปลูก

                       209,320 ไร ผลผลิตรวม 125,221 ตัน ผลผลิตเฉลี่ย 856 กิโลกรัมตอไร แหลงผลิตที่สําคัญไดแก
                       จังหวัดเชียงใหม เชียงราย พะเยา นาน และสมุทรสงคราม สาเหตุที่เกษตรกรใหความสนใจ

                       เพาะปลูกลิ้นจี่กันมาก เนื่องจากลิ้นจี่เปนไมผลที่สามารถปลูกไดในสภาพดินเกือบทุกชนิด ดูแลรักษางาย

                       โรคและแมลงรบกวนนอยและที่สําคัญคือ ผูบริโภคก็ชื่นชอบในรสชาดที่หวาน หอม อรอย

                       ประกอบกับลิ้นจี่มีลักษณะของผล สีของผล รสชาด และกลิ่นที่แปลกไปจากไมผลชนิดอื่น ลิ้นจี่
                       เปนที่นิยมบริโภคกันทั้งชาวไทยและชาวตางประเทศทั้งในรูปของผลสดและแปรรูป นอกจากนี้

                       ลิ้นจี่ยังเปนไมผลสามารถที่สงออกไปจําหนายยังตลาดตางประเทศทั้งในรูปของผลสดและแปรรูป

                       เปนผลิตภัณฑตางๆ นํารายไดเขาประเทศปละหลายลานบาท และมีแนวโนมวาจะมีการสงออก

                       เพิ่มมากขึ้น เพราะความนิยมบริโภคที่เพิ่มมากขึ้น ประกอบกับตลาดตางประเทศยังมีคูแขง
   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15