Page 43 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจมังคุด
P. 43

2-23








                       ผลผลิตรวมนั้นกลับปรากฏวาจังหวัดยะลา นราธิวาสและจังหวัดตรังมีแนวโนมของปริมาณผลผลิต

                       เพิ่มขึ้นรอยละ 63.85  57.70  และ  55.63  ตอป    สําหรับภาคตะวันออกนั้นเนื้อที่ปลูกมังคุดของภาค

                       เฉพาะจังหวัดที่เปนแหลงปลูกสําคัญระหวางป 2543-2546 มีเนื้อที่รวม 115,992 ไร เนื้อที่ใหผล
                       82,875 ไร ปริมาณผลผลิตรวม 76,688 ตัน ผลผลิตเฉลี่ยสูงกวาภาคใตคือ 925 กิโลกรัมตอไร

                       จังหวัดที่มีเนื้อที่ปลูกมากที่สุดในภาคตะวันออกคือจังหวัดจันทบุรี  ลําดับรองลงมาเปนจังหวัด

                       ระยองและจังหวัดตราด ตามลําดับ  จังหวัดที่มีผลผลิตเฉลี่ยตอไรอยูในระดับสูง คือ จังหวัดจันทบุรี
                       ปราจีนบุรีและนครนายก มีผลผลิตเฉลี่ยตอไรประมาณ 1,000 กิโลกรัม ทั้ง 3 จังหวัด  สวนในป 2546

                       เนื้อที่ปลูกมังคุดทั้งภาคตะวันออกเพิ่มขึ้นเปน 138,412 ไร เปนเนื้อที่ใหผลผลิตแลว 104,799 ไร ปริมาณ

                       ผลผลิตรวม 103,358 ตัน ปริมาณผลผลิตเฉลี่ยตอไร   986 กิโลกรัม ซึ่งเพิ่มขึ้นเมื่อเปรียบเทียบกับป 2543

                       จังหวัดที่มีเนื้อที่ปลูกมากที่สุดยังเปนจังหวัดจันทบุรี  รองลงมาคือจังหวัดตราดและระยอง แตเมื่อ
                       พิจารณาแนวโนมสถานการณการผลิตมังคุดภาคใตแลวพบวา เนื้อที่ปลูกเพิ่มขึ้น เนื้อที่ใหผลและ

                       ปริมาณผลผลิตรวมเพิ่มขึ้น 3.84  12.35  และ 15.02  ตอป  จังหวัดที่มีแนวโนมของเนื้อที่ปลูกเพิ่มมาก

                       ที่สุดของภาคนี้ไดแก จังหวัดชลบุรี ตราดและปราจีนบุรีโดย   แตปริมาณผลผลิตรวมนั้นกลับปรากฏวา
                       จังหวัดชลบุรี ระยองและปราจีนบุรีมีแนวโนมของปริมาณผลผลิตรวมเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะจังหวัดชลบุรี

                       นั้นทั้งเนื้อที่ปลูกและปริมาณผลผลิตรวมเพิ่มขั้น 2 และ 5 เทา จากป 2543 ตามลําดับ (ตารางที่ 2-5)


                           2.5.2 การตลาดและราคาผลผลิต


                                 ตลาดตางประเทศ

                                 ประเทศไทยมีการสงออกมังคุดไปยังตางประเทศทั้งในรูปผลสดและแชแข็ง  แตยังมีปริมาณ

                       การสงออกมังคุดไมมากนัก  เมื่อเปรียบเทียบกับปริมาณผลผลิตในแตละปของการสงออกมังคุดที่มี
                       มากขึ้น  ตลาดตางประเทศที่รองรับผลผลิตใหญ ๆ มี 3 ประเภทคือ

                                 1. ตลาดหลัก ไดแก ญี่ปุน ฮองกง สิงคโปรและสหพันธรัฐมาเลเซีย

                                 2. ตลาดรอง ไดแก ฝรั่งเศส เนเธอรแลนด เยอรมันตะวันตกและสหราชอาณาจักร
                                 3.  ตลาดแหงใหม ไดแก สหรัฐอเมริกา ตะวันออกกลาง แคนาดา สวิสเซอรแลนดและ

                       ออสเตรเลีย

                                 มังคุดที่สงไปจําหนายยังประเทศตาง ๆ เปนการจัดสงมังคุดสดไปจําหนายไมตองแชแข็ง

                       แตจะตองผานการตรวจสอบจากดานศุลกากรสําหรับประเทศที่นําเขา ดังนั้นการทําความสะอาด
                       และกําจัดแมลงไมใหติดไปกับผล จึงเปนสิ่งสําคัญอยางยิ่งในการจัดสงไปยังตลาดตางประเทศ









                       เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจมังคุด                                                                                           สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน
   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48