Page 41 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจมังคุด
P. 41

2-21








                       2.5   สภาพการผลิตและการใชประโยชน


                           2.5.1  แหลงผลิตที่สําคัญ

                                 ภาคตะวันออกไดแก จังหวัดจันทบุรี ตราดและระยอง โดยมีระยะเก็บเกี่ยวระหวางเดือน

                       พฤษภาคม-มิถุนายน แตจะเก็บเกี่ยวมากในเดือนมิถุนายนถึงรอยละ 36 ของผลผลิตในภาค

                                 ภาคใต ไดแก จังหวัดชุมพร นครศรีธรรมราช ระนอง สุราษฎรธานีและพังงา   ชวงเวลา
                       เก็บเกี่ยวอยูระหวางเดือนกรกฎาคม-กันยายน ภาคใตเปนแหลงผลิตใหญที่สุดของประเทศ  และจะมี

                       ปริมาณผลผลิตออกสูตลาดมากชวงเดือนมิถุนายน-สิงหาคมในแตละเดือนประมาณรอยละ 25 ของ

                       ปริมาณผลผลิตในภาคใตทั้งหมดซึ่งมีสัดสวนประมาณรอยละ 68 ของปริมาณผลผลิตมังคุดทั้งประเทศ

                                 ขอมูลของสวนวิจัยพืชสวน สํานักวิจัยเศรษฐกิจการเกษตร (2548) รายงานวาเนื้อที่ปลูก

                       มังคุดในป 2537  เทากับ 213,747  ไร  เปนเนื้อที่ใหผลแลวเพียงประมาณครึ่งหนึ่งคือ 102,982  ไร
                       ปริมาณผลผลิตรวม 110,204  ตัน  ผลผลิตเฉลี่ยตอไร 1,070  กิโลกรัม  ขณะที่ป 2547  มีเนื้อที่ปลูก

                       391,092 ไร  เปนเนื้อที่ใหผลแลวเกินกวาครึ่งหนึ่งคือ 268,414 ไร  ปริมาณผลผลิตรวม 235,272 ตัน

                       ผลผลิตเฉลี่ยตอไร 877  กิโลกรัม  จากขอมูลขางตนพบวาเนื้อที่ปลูกรวมเพิ่มขึ้นรอยละ 6.38  ตอป
                       สวนเนื้อที่ใหผลเพิ่มมากกวาเนื้อที่ปลูกรวมคือเพิ่มขึ้นรอยละ 10.29  ตอป  สงผลใหปริมาณผลผลิต

                       รวมเพิ่มขึ้นในระหวางป 2537-2547 คิดเปนรอยละ 8.72 ตอป แตผลผลิตเฉลี่ยตอไรกลับมีแนวโนม

                       ลดลงรอยละ 1.50 ตอป ซึ่งแสดงวาประสิทธิภาพในการผลิตมังคุดมีแนวโนมลดลง (ตารางที่ 2-4)

                                เมื่อจําแนกพื้นที่เพาะปลูกมังคุดในจังหวัดที่เปนแหลงผลิตสําคัญระหวางป 2543-2546

                       จากขอมูลของศูนยสารสนเทศ กรมสงเสริมการเกษตรพบวา ในป 2543 ภาคใตมีเนื้อที่ปลูกมังคุด

                       รวม 235,692 ไร เนื้อที่ใหผล 119,148 ไร ปริมาณผลผลิตรวม 100,343 ตัน ผลผลิตเฉลี่ย 842
                       กิโลกรัมตอไร จังหวัดที่มีเนื้อที่ปลูกมากที่สุดในภาคใตคือจังหวัดชุมพร ลําดับรองลงมาเปนจังหวัด

                       นครศรีธรรมราชและระนอง จังหวัดที่มีปริมาณผลผลิตเฉลี่ยตอไรอยูในระดับสูง คือ จังหวัดกระบี่

                       และระนอง 1,586 และ 1,302 กิโลกรัมตอไร ตามลําดับ  สวนในป 2546 เนื้อที่ปลูกมังคุดทั้งภาคใต
                       เพิ่มขึ้นเปน 263,517 ไร เปนเนื้อที่ใหผลผลิตแลว 168,253 ไร ปริมาณผลผลิตรวม 149,013 ตัน ปริมาณ

                       ผลผลิตเฉลี่ยตอไร 886 กิโลกรัม จังหวัดที่มีเนื้อที่ปลูกมากที่สุดยังเปนจังหวัดชุมพรและ

                       นครศรีธรรมราช แนวโนมสถานการณการผลิตมังคุดของภาคใตนั้นพบวา เนื้อที่ปลูก เนื้อที่ใหผลและ

                       ปริมาณผลผลิตรวมเพิ่มขึ้น 3.84  12.35  และ 15.02  ตอป  จังหวัดที่มีแนวโนมของเนื้อที่ปลูกเพิ่มมาก
                       ที่สุดของภาคนี้ไดแก  จังหวัดสตูลและนราธิวาสโดยเพิ่มขึ้นรอยละ  18.60  และ 16.24 ตอป   แตปริมาณ










                       เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจมังคุด                                                                                           สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน
   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46