Page 47 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจมังคุด
P. 47

2-27








                       ที่สําคัญคือ ประเทศญี่ปุนที่ประชากรมีรายไดสูงและนิยมบริโภคมังคุดที่มีรสชาติอรอยถูกรสนิยม
                       ของชาวญี่ปุน ราคามังคุดที่ซื้อ-ขายปลีกในตลาดญี่ปุนจะอยูระหวางผลละ 120-140 บาท กิโลกรัม

                       หนึ่งจะมีประมาณ 8 ผล หากคิดเปนราคาจะอยูระหวาง 960-1,120 บาทตอกิโลกรัม ขณะที่

                       เกษตรกรผูปลูกมังคุดจะสามารถจําหนายได ณ หนาสวนประมาณ 15-25 บาทตอกิโลกรัม ดังนั้น
                       การผลักดันการสงออกมังคุดไทยไปตางประเทศจะเปนยุทธศาสตรสําคัญในการพัฒนาการเกษตร

                       สรางงานและรายไดที่เปนเงินตราตางประเทศที่จะชวยใหเกษตรกรอยูดีกินดีเพิ่มมากขึ้น  แตตอง

                       อาศัยความรวมมือกันระหวางสวนราชการที่เกี่ยวของกับภาคเอกชนที่เปนผูสงออกไทยที่จะทําการ
                       เจรจาการคากับผูนําเขา จะทําใหการลื่นไหลทางการคาเปนไปไดโดยสะดวก(สํานักงานเศรษฐกิจ

                       การเกษตร, 2547)

                                นอกจากรับประทานสดแลว  ประเทศไทยเปนประเทศผูผลิตและสงออกมังคุดรายใหญ

                       ของโลก ไมเคยมีรายงานในการนําเขามังคุดผลสด แชแข็ง หรือผลิตภัณฑแปรรูปเขามาในประเทศ

                       ไทย  ผลผลิตมังคุดในแตละปมีปริมาณเพียงพอตอความตองการบริโภคภายในประเทศ  และมีการ
                       สงออกไปยังตลาดตางประเทศ  ในรูปมังคุดผลสดและแชแข็ง   ตลาดสงออกมังคุดผลสดที่สําคัญ

                       ไดแก ฮองกง ไตหวัน และสาธารณรัฐประชาชนจีน มูลคาการนําเขาผลมังคุดรวมของ 3 ตลาด  ประมาณ

                       รอยละ 95  ของมูลคาสงออกมังคุดทั้งหมด  นอกจากนี้ประเทศไทยยังสามารถสงมังคุดผลสดไปยัง
                       สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว สหรัฐอาหรับอิมิเรตส ฟจิ เวียดนาม เนเธอรแลนดและแคนาดา

                       ในป 2546 ประเทศญี่ปุนไดมีการยินยอมใหมีการนํามังคุดผลสดจากประเทศไทยเขาสูตลาดญี่ปุนได

                                ขอมูลของกรมศุลกากรที่อางโดยสํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร รายงานสถานการณสงออก

                       มังคุดของประเทศไทยไปยังตลาดตางประเทศระหวาง ป 2543-2547 พบวาปริมาณการสงออก

                       มังคุดผลสดและผลิตภัณฑจากป 2537 มีปริมาณสงออกรวม 1,531 ตัน มูลคารวม 70.315 ลานบาท
                       สวนในป 2547 เพิ่มเปน 27,006 ตัน มูลคา 462.21 ลานบาท หรือปริมาณสงออกเพิ่มขึ้นรอยละ

                       47.93 ตอป มูลคาการสงออกเพิ่มขึ้นในชวงเวลาเดียวกันรอยละ 29.85 ตอป (ตารางที่ 2-6) ปริมาณ

                       และมูลคาการสงออกมังคุดนั้น จําแนกไดเปนมังคุดสดและมังคุดแชแข็ง ในป 2543 มีปริมาณ
                       สงออกรวม 12,886 และ 227 ตัน สําหรับมังคุดสดและมังคุดแชแข็ง ตามลําดับ สวนป 2547 ปริมาณ

                       สงออกของมังคุดสดเพิ่มจากป 2543 ประมาณ 2 เทา กลาวคือมีปริมาณสงออกเทากับ 26,763 ตัน

                       แตมูลคาการสงออกมังคุดสดในชวงเวลาเดียวกลับเพิ่มนอยกวา 1 เทาคือ 439.372 ลานบาท หรือ
                       เพิ่มขึ้นเพียงรอยละ 19.52 ตอป ขณะที่ปริมาณสงออกเพิ่มขึ้นรอยละ 29.36 ตอป ประเทศผูนําเขา

                       มังคุดสดที่สําคัญไดแก สาธารณรัฐประชาชนจีน ฮองกงและญี่ปุน ตามลําดับ โดยเฉพาะสาธารณรัฐ

                       ประชาชนจีนและญี่ปุนมีแนวโนมการนําเขาในชวงเวลาดังกลาวสูงขึ้นประมาณ 2-3 เทาตอปขณะที่






                       เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจมังคุด                                                                                           สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน
   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51   52