Page 40 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจมังคุด
P. 40

2-20








               โดยในภาคตะวันออกและภาคใตโครงการชลประทานขนาดใหญมีเนื้อที่ 1,481,600  ไร   และ
               1,402,394 ไร   ตามลําดับ   แสดงดังตารางที่ 2 - 3

                        แตโดยสภาพตามธรรมชาติมังคุดจะเริ่มออกดอกและเจริญเปนผลในชวงหนาแลง

               ประมาณเดือนพฤศจิกายน   ดังนั้นสําหรับการปลูกมังคุดในภาคตะวันออกและภาคใตสวนใหญ
               จําเปนตองมีแหลงน้ําสํารองอื่นๆ   นอกเหนือจากน้ําชลประทาน   เชน   ปลูกบริเวณใกลแมน้ําลําคลอง

               หรือมีแหลงน้ําใตดิน เชน บอขุด   หรือน้ําบาดาล    เพราะพื้นที่ปลูกมังคุดสวนใหญจะเปนบริเวณ

               ที่น้ําชลประทานสงไมถึง   จึงจําเปนตองมีแหลงน้ําสํารองดังที่กลาวมาแลวขางตน

               ตารางที่  2-3  เนื้อที่ประเภทโครงการชลประทานภาคตะวันออกและภาคใต



                                                            ภาค   ภาคตะวันออก     ภาคใต

                โครงการชลประทาน                             เนื้อที่ (ไร)      เนื้อที่ (ไร)

                ขนาดใหญ                                         1,481,600           1,402,394
                ขนาดกลาง                                           737,765           1,374,225

                ขนาดเล็ก                                           526,357           1,358,583

                อันเนื่องมาจากพระราชดําริ                           43,477             186,715

                หมูบานปองกันตนเองชายแดน                          22,134              40,250

                                รวม                              2,811,333           4,362,167


               ที่มา : เอกชัย (2546)


                        จากการศึกษาสถานภาพของทรัพยากรดิน น้ํา พบวามีความสัมพันธกันอยางแยกไมออก
               โดยฝนที่ตกลงมาสวนใหญจะเก็บกักไวในดิน   ซึ่งเปนแหลงที่มาของน้ําใตดิน และถามีปริมาณ

               มากเกินความสามารถในการรองรับจะซึมลงสูแมน้ําลําธารตอไป แตบางครั้งถาฝนตกมีปริมาณ

               มากเกินไปก็อาจสงผลใหเกิดอุทกภัยได   ซึ่งมีสาเหตุใหญมาจากการใชทรัพยากรตาง ๆ โดยเฉพาะ
               ทรัพยากรดิน  น้ํา  และปาไม   อยางไมเหมาะสมสงผลใหเกิดความเสื่อมโทรมของทรัพยากร  ดังนั้น

               จึงควรใชทรัพยากรตาง ๆ ตามหลักอนุรักษ  ซึ่งไดแก  ใชอยางยั่งยืน โดยใชอยางสมเหตุสมผล

               ใชอยางฉลาด  นอกจากนี้ตองฟนฟูทรัพยากรที่เสื่อมโทรม  และสงวนของที่หายาก















               เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจมังคุด                                                                                           สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน
   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45