Page 106 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจมังคุด
P. 106

4-3







                       ของคาแรงงานทั้งหมด วัสดุการเกษตรนั้นประมาณรอยละ 34 ของคาวัสดุจะเปนคาปุยเคมีซึ่งเกษตรกร
                       ใส 59.34 กิโลกรัมตอไร สวนใหญเปนสูตร 15-15-15 รองลงมาเปนสูตร 8-24-24  และ 16-0-0

                       มีการใชปุยคอก 148.73 กิโลกรัมตอไร เปนมูลคาประมาณรอยละ 19 ของคาวัสดุทั้งหมด  ลําดับ

                       รองลงมาเปนคาน้ํามันเชื้อเพลิงและหลอลื่นซึ่งมีมูลคาประมาณรอยละ 18 ของคาวัสดุทั้งหมด
                       เนื่องจากเกษตรกรมีเงินทุนในผลิตมังคุดไมเพียงพอ จึงไดกูเงินมาใชเฉลี่ย 32,887.41 บาทตอราย

                       (ตารางที่ 4-1)


                                เมื่อจําแนกพื้นที่ตามระดับความเหมาะสมทางกายภาพของที่ดินสําหรับการปลูกมังคุด
                       พบวาในเขตพื้นที่ที่ดินมีความเหมาะสมสูง (S1)  เกษตรกรมีเนื้อปลูกเฉลี่ย 5.85 ไรตอราย เนื้อที่

                       เก็บผลผลิต 4.57 ไรตอราย แรงงานที่ใชสวนใหญเปนแรงงานคน วัสดุการเกษตรที่ใชปุยเคมี 82.86

                       กิโลกรัมตอไร ปุยคอก 238.76 กิโลกรัมตอไร ขณะที่ในเขตพื้นที่ที่ดินมีความเหมาะสมปานกลาง
                       (S2) และเหมาะสมเล็กนอย (S3)  เกษตรกรมีพื้นที่ปลูกเฉลี่ยมากกวาในเขตพื้นที่ที่ดินมีความเหมาะสมสูง

                       เล็กนอย กลาวคือเกษตรกรใชเนื้อที่ปลูกมังคุดเฉลี่ย 6.53 และ 7.47 ไรตอราย ตามลําดับ แรงงาน

                       ที่ใชสวนใหญเปนแรงงานคนเชนกัน วัสดุการเกษตรที่ใชพบวาอยูในอัตราที่ต่ํากวาในเขตพื้นที่

                       ที่ดินมีความเหมาะสมสูง เพราะใชปุยเคมี 34.55 และ 60.48 กิโลกรัมตอไร ปุยคอก 100.11 และ
                       110.04 กิโลกรัมตอไร ตามลําดับ( ตารางที่ 4-1 )

                                เมื่อจําแนกตามพื้นที่ตามภาคที่ทําการสํารวจเกษตรกรผูปลูกมังคุด พบวาเกษตรกร

                       ภาคตะวันออกมีพื้นที่ปลูกเฉลี่ยมากกวาภาคใต คือ 9.24 ไรตอราย ขณะที่ภาคใตมีเนื้อที่ปลูกเฉลี่ย

                       4.48 ไรตอราย พื้นที่เก็บเกี่ยวผลผลิตสําหรับภาคใตนั้นนอยกวาพื้นที่ปลูกประมาณ 1 เทาตัวแสดงวา

                       ตัวอยางที่สํารวจนั้นเกษตรกรยังไมสามารถเก็บผลผลิตไดเต็มพื้นที่ ในรายละเอียดพบวามีปญหาฝนแลง
                       ทําใหสวนบางแหงไมไดรับผลผลิต ภาคตะวันออกใชปุยเคมีและปุยคอกในปริมาณที่มากกวาภาคใต

                       คือ 64.09 และ 172.47  กิโลกรัมตอไร ตามลําดับ ในขณะที่ภาคใตใสปุยเคมีและปุยคอก 51.69 และ

                       110.46 กิโลกรัมตอไร ตามลําดับ เปนที่นาสังเกตวาเกษตรกรผูปลูกมังคุดในภาคตะวันออกมีจํานวน
                       ตนมังคุดเฉลี่ยตอไรสูงกวาภาคใต คือ 37 ตนตอไร สวนภาคใต 21 ตนตอไร (ตารางที่ 4-2)



                        4.1.2  ตนทุน/รายไดและผลตอบแทน

                                4.1.2.1 ตนทุน/รายไดและผลตอบแทนระดับประเทศ


                                       มังคุด  มีตนทุนทั้งหมดไรละ 5,520.56 บาท เปนตนทุนผันแปรไรละ 4,759.90 บาท
                       และตนทุนคงที่ไรละ 760.66 บาท คิดเปนรอยละ 86.22 และ 13.78  ตามลําดับ ในจํานวนตนทุนทั้งหมด

                       เปนตนทุนที่เปนเงินสดไรละ 3,713.02 บาท และไมเปนเงินสดไรละ 1,807.54 บาท ซึ่งตนทุนที่เปนเงินสด






                       เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจมังคุด                         สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน
   101   102   103   104   105   106   107   108   109   110   111