Page 111 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจมังคุด
P. 111

4-6








               รอยละ 96.08 เปนตนทุนผันแปร ในจํานวนตนทุนผันแปรทั้งหมดนั้นสวนใหญเปนคาแรงงาน
               ซึ่งมีมูลคาพอ ๆ กันกับคาวัสดุการเกษตร ซึ่งคาแรงงานรอยละ 92 เปนคาแรงงานคน คาปุยเคมีนั้น

               มีสัดสวนประมาณรอยละ 34 ของคาวัสดุการเกษตรทั้งหมด ปริมาณผลผลิตที่เกษตรกรไดรับ

               รวมทุกชวงอายุเทากับ 428.03 กิโลกรัมตอไร ณ ราคาขายผลผลิต 14.50 บาทตอกิโลกรัม มูลคา
               ของผลผลิตหรือรายไดเฉลี่ยตอไรตลอดชวงอายุ 25 ปเทากับ 6,206.44 บาท ทําใหเกษตรกรไดรับ

               ผลตอบแทนเหนือตนทุนเงินสดไรละ 2,493.42 บาท ผลตอบแทนเหนือตนทุนผันแปรไรละ

               1,446.54 บาท และผลตอบแทนเหนือตนทุนทั้งหมดไรละ 685.88 บาท  ตนทุนการผลิตเฉลี่ย 12.90
               บาทตอกิโลกรัมซึ่งต่ํากวาราคาผลผลิตที่เกษตรกรไดรับ เกษตรกรจึงยังคงมีกําไรจากการผลิตมังคุด

               (ตารางที่ 4-3)

                                เมื่อพิจารณาตามชวงอายุมังคุดในภาพรวมทั้งประเทศพบวา ตนทุนในปที่ 1 นั้น
               สัดสวนประมาณครึ่งหนึ่งของตนทุนทั้งหมดเปนคาแรงงาน ลําดับรองลงมาเปนคาวัสดุการเกษตร

               มีมูลคาประมาณรอยละ 25 ของตนทุนทั้งหมด สําหรับชวงอายุ 2-6 ปนั้นคาใชจายในรายการตาง ๆ

               มีมูลคาพอ ๆ กันโดยคาวัสดุการเกษตรเปนคาใชจายที่มีมูลคามากที่สุด ลําดับรองลงมาคือคาแรงงาน

               มังคุดปที่ 1 และปที่ 2-6  เกษตรกรยังไมมีรายไดเนื่องจากมังคุดยังไมใหผลผลิตคงมีแตคาใชจาย
               เพียงอยางเดียว  เกษตรกรจึงประสบกับการขาดทุนเทากับตนทุนที่เกิดขึ้น  ถาพิจารณาตนทุนทุกประเภท

               กลาวคือปที่ 1 ไดรับผลตอบแทนเหนือตนทุนผันแปรขาดทุนไรละ 2,725.21 บาท และผลตอบแทน

               เหนือตนทุนทั้งหมดขาดทุนไรละ 3,282.20 บาท  สวนปที่ 2-6  ไดรับผลตอบแทนเหนือตนทุนผันแปร

               ขาดทุนไรละ 2,020.85 บาท และผลตอบแทนเหนือตนทุนทั้งหมดขาดทุนไรละ 2,598.59 บาท
               สําหรับชวงอายุ 7-12 ป 13-20 ป และอายุ 21 ปขึ้นไป เกษตรกรไดรับผลกําไรเนื่องจากมังคุดไดให

               ผลผลิตแลว 391.09 1,241.96 และ 1,543.58 กิโลกรัมตอไร ตามลําดับ ซึ่งถาพิจารณา

               รายละเอียดของตนทุนตามตารางที่ 4-2 พบวาคาวัสดุการเกษตรมีสัดสวนพอ ๆ กันกับคาแรงงาน
               ตนทุนทั้งหมดเฉลี่ยตอไรของการผลิตมังคุดในชวงอายุอายุ 7-12 ป 13-20 ป และอายุ 21 ปขึ้นไป

               คือ 5,643.06 9,022.68 และ 11,671.58 บาท  ทําใหเกษตรกรไดรับผลตอบแทนเหนือตนทุนทั้งหมด

               27.75  8,985.74 และ 10,710.33 บาทตอไร ตามลําดับ  ในจํานวนตนทุนทั้งหมดนั้นเปนตนทุนผันแปร
               ประมาณรอยละ 85  92 และ 90 ตามลําดับชวงอายุ ดังนั้นเมื่อพิจารณาเฉพาะตนทุนผันแปรแลวทําให

               เกษตรกรไดรับผลตอบแทนเหนือตนทุนผันแปร 859.40 9,693.69 และ 11,883.02 บาทตอไร

               ตามลําดับ  (ตารางที่ 4-4)

                        4.1.2.2  ตนทุน/รายไดและผลตอบแทนจําแนกตามระดับความเหมาะสมของที่ดิน


                                พื้นที่ที่ดินมีความเหมาะสมสูง (S1)  มังคุด มีตนทุนทั้งหมดไรละ 6,424.68 บาท

               เปนตนทุนผันแปรไรละ 5,639.16 บาท และตนทุนคงที่ไรละ 785.52 บาท คิดเปนรอยละ 87.77 และ



               เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจมังคุด                          สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน
   106   107   108   109   110   111   112   113   114   115   116