Page 105 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจมังคุด
P. 105

4-2








               ของผลผลิตและราคาเสมือนกับเปนสวนมังคุดแปลงเดียวกันตลอดชวงระยะเวลาของการลงทุน
               โครงการ เพื่อนํามาหาคาเฉลี่ยซึ่งอาจจะไมสอดคลองกับสภาพความเปนจริงในทางการปฏิบัติ

               แตดวยสภาพเงื่อนไขของการศึกษาในครั้งนี้ทั้งดานงบประมาณและระยะเวลาที่จํากัด ทําใหสามารถ

               ดําเนินการเทาที่เปนไปไดแตใหใกลเคียงความเปนจริงมากที่สุด และเนื่องจากมังคุดเปนไมยืนตน
               ที่มีอายุการผลิตมากกวา 1 ป การศึกษาตนทุนและผลตอบแทนนอกจากการวิเคราะหตนทุนและ

               ผลตอบแทนพืชตามปกติแลว ไดเพิ่มการวิเคราะหตามหลักเกณฑการประเมินโครงการเพื่อเปนแนวทาง

               ในการตัดสินใจเกี่ยวกับการลงทุน โดยคํานวณมูลคาปจจุบัน (Net Present Value : NPV) ของตนทุน
               และผลตอบแทนการผลิตมังคุดตลอดชวงอายุ 25 ป   อัตราคิดลด (Discount Rate)ใชอัตราดอกเบี้ย

               เงินกูของธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณการเกษตรรอยละ 5.50 บาทตอป  คาผลตอบแทนสุทธิ

               เฉลี่ยตอปไดจากการปรับคามูลคาปจจุบันของตนทุน มูลคาผลผลิต(รายได) และผลตอบแทนดวยการ
               คูณดวยตัวกอบกูทุน (Capital Recovery Factor : CRF) ที่อัตราดอกเบี้ยเทากับอัตราที่ใชในการคํานวณ

               คาปจจุบันสุทธิ  วิเคราะหคาอัตราผลตอบแทนตอตนทุน (Benefit cost ratio : B/C ratio) เพื่อเปนเกณฑ

               วัดประสิทธิภาพการผลิต(Productivity)  และเปรียบเทียบผลไดหรือผลตอบแทนที่ไดรับจาก

               การลงทุนที่เทากัน สวนอัตราผลตอบแทนการลงทุน (Internal Rate of Return)  นํามา
               เปรียบเทียบกับอัตราคิดลด ถาคาที่คํานวณไดมากกวาอัตราคิดลดที่ใชแสดงวาสมควรที่จะลงทุน

               ตอไป  จุดคุมทุนหรือปที่คุมทุนชี้ใหเห็นระยะเวลาคืนทุน(Payback Period) ที่ผลตอบแทนสุทธิ

               มีคาเทากับตนทุนการผลิต หรือเปนปที่ผลตอบแทนสะสมเริ่มมีคาเปนบวก  การวิเคราะหขอมูล

               ตามหลักเกณฑดังกลาวนี้ทําใหทราบขอมูลดานตนทุนและผลตอบแทนทางเศรษฐกิจ
               ซึ่งมีความสําคัญตอเกษตรกรในฐานะผูประกอบการโดยจะเปนขอมูลใหทราบถึงสถานะ

               ทางเศรษฐกิจที่จะตัดสินใจทําการผลิตหรือดําเนินการใหเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ  สามารถนําใช

               เปนขอมูลพื้นฐานในการวางแผนและกําหนดเขตการผลิต นอกจากนี้ยังใชเปนขอมูลเปรียบเทียบกับ
               ผลตอบแทนจากการผลิตพืชชนิดอื่น  รายละเอียดการวิเคราะหเปนดังนี้



                4.1.1  การใชปจจัยการผลิต ปการผลิต 2547/48

                        ปจจัยการผลิตตาง ๆ ที่ใชในการผลิตมังคุดจากผลการสํารวจในปการผลิต 2547/48

               พบวาเกษตรกรมีเนื้อที่เพาะปลูกเฉลี่ย 6.57 ไรตอราย เนื้อที่ใหผล 4.82 ไรตอราย จํานวนตนมังคุด
               ตอไร 22 ตน ขนาดของเนื้อที่ดังกลาวนับไดวาเปนสวนขนาดเล็ก การเตรียมดินใชเครื่องจักรไถ

               เพียงครั้งเดียว สวนใหญยกรองกอนขุดหลุมปลูก การดูแลรักษาพบวามีการฉีดยากําจัดวัชพืชและ

               ฉีดยาปราบศัตรูพืชและใหฮอรโมน การกําจัดวัชพืชใชแรงงานเครื่องจักรควบคูกับการใชแรงงานคน

               (ดายหญา)  แรงงานที่ใชในการผลิตสวนใหญเปนแรงงานคนที่มีคาใชจายสูงถึงประมาณรอยละ 92





               เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจมังคุด                          สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน
   100   101   102   103   104   105   106   107   108   109   110