Page 104 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจมังคุด
P. 104

บทที่ 4

                                               การวิเคราะหดานเศรษฐกิจและสังคม



                              การวิเคราะหดานเศรษฐกิจและสังคมของการผลิตมังคุดไดศึกษาเปน 2 สวน คือ สวนที่ 1

                       ตนทุนการผลิต มูลคาผลผลิต(รายได)และผลตอบแทนจากการผลิต สวนที่ 2 ปญหา ความตองการ

                       ความชวยเหลือจากรัฐและทัศนคติของเกษตรกรผูผลิตมังคุด ขอมูลที่ใชศึกษาไดจากการสํารวจ
                       เกษตรกรผูปลูกมังคุดตามอําเภอและจังหวัดที่เปนแหลงผลิตที่สําคัญของภาคตะวันออกและ

                       ภาคใต ทั้งนี้จําแนกการศึกษาตามความเหมาะสมทางกายภาพของที่ดินที่สํารวจตัวอยางเกษตรกร

                       ผูผลิตมังคุดไว 3 ระดับ คือ พื้นที่ที่ดินมีความเหมาะสมสูง (S1) พื้นที่ที่ดินมีความเหมาะสมปานกลาง

                       (S2) และพื้นที่ที่ดินมีความเหมาะสมเล็กนอย (S3) และจําแนกตามแหลงการผลิตคือภาคตะวันออก
                       และภาคใต  สําหรับปญหา ความตองการและทัศนคติของเกษตรกรจะศึกษาในภาพรวมตามระดับ

                       ความเหมาะสมทางกายภาพของพื้นที่และจําแนกตามภาค  หลักเกณฑและวิธีการวิเคราะหดังที่กลาวไว

                       ในบทที่ 1  รายละเอียดผลการวิเคราะหดังหัวขอตอไปนี้


                       4.1 ตนทุนและผลตอบแทน

                              ตนทุน รายได การจัดการดูแลรักษาซึ่งรวมถึงการใชปจจัยการผลิตตางๆ ตลอดจน

                       ผลตอบแทนการผลิตเปนเครื่องชี้ประสิทธิภาพในการผลิตใหเห็นถึงความเหมาะสมของการ

                       ปลูกมังคุดในพื้นที่ที่ดินมีความเหมาะสมทางกายภาพตางกันและพื้นที่ภาคตาง ๆ ของประเทศ
                       เนื่องจากทดสอบคาทางสถิติพบวาผลผลิตมีความแตกตางกัน ณ ระดับนัยสําคัญ 0.10 ในแตละภาค

                       และแตละระดับความเหมาะสมทางกายภาพของที่ดินสําหรับการปลูกมังคุด ในที่นี้ จึงไดจําแนก

                       การวิเคราะหออกเปน 2 ลักษณะ ราคาผลผลิตที่นํามาคํานวณมูลคาผลผลิตหรือรายไดนั้นใชราคาเฉลี่ย

                       จากตัวอยางราคาเดียวกันในการคํานวณมูลคาผลผลิตในทุกระดับความเหมาะสมทางกายภาพ
                       ของที่ดินคือ 14.50 บาทตอกิโลกรัม สวนการวิเคราะหรายภาคนั้นใชราคาเฉลี่ยของผลผลิตแตละภาค

                       คือ 14.83 และ 12.49  ตอกิโลกรัมสําหรับ ภาคใตและภาคตะวันออก ตามลําดับ ทั้งนี้เพื่อกําจัด

                       ปญหาดานราคาที่แตกตางกันตามสถานที่ผลิตในแตละภาคและระยะเวลาขายผลผลิต
                              การวิเคราะหเพื่อทราบผลตอบแทนจากการผลิตมังคุด เริ่มตนจากการวิเคราะหตนทุนหรือ

                       คาใชจายในการผลิตซึ่งจําแนกเปน 2 ประเภท คือตนทุนผันแปรและตนทุนคงที่ และในแตละประเภท

                       ของตนทุนนั้นจําแนกยอยเปนตนทุนที่เปนเงินสดและไมเปนเงินสด การวิเคราะหผลตอบแทน

                       จากการผลิตจึงไดวิเคราะหตามตนทุนที่จําแนกไวคือจะพิจารณาจากผลตอบแทนเหนือตนทุนเงินสด
                       ผลตอบแทนเหนือตนทุนผันแปรและผลตอบแทนเหนือตนทุนทั้งหมด  และการวิเคราะหขอมูล
   99   100   101   102   103   104   105   106   107   108   109