Page 44 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจมะขาม
P. 44

2-26






               หลังจากนั้นพื้นที่ปลูกรวมลดลงเรื่อย ๆ จนถึงปเพาะปลูก 2546 ลดลงจากปเพาะปลูก 2545 รอยละ
               12.00 ขณะที่ปริมาณผลผลิตมะขามเพิ่มขึ้นเนื่องจากผลผลิตมะขามหวานซึ่งเปนผลผลิตที่มีสัดสวน

               ของผลผลิตมะขามทั้งประเทศเพิ่มขึ้นจากสัดสวนรอยละ 60.93 ในปเพาะปลูก 2540 เพิ่มขึ้น

               เรื่อยๆ เปนรอยละ 80.37 ในปเพาะปลูก 2546 เนื่องจากตนมะขามหวานซึ่งเปนที่นิยมปลูกกัน
               ในชวงปเพาะปลูก 2537-2541 ไดใหผลผลิตในชวง 4-5 ปหลังการปลูก ทําใหผลผลิตรวม

               ของมะขามทั้งประเทศในชวงหลัง มีปริมาณมากและราคาลดต่ําลงประกอบกับผูบริโภค

               ลดความนิยมลง ในปเพาะปลูก 2546 พื้นที่ปลูกและผลผลิตโดยรวมของมะขามทั้งประเทศจึงลดลง
               โดยพื้นที่ปลูกลดลงจากปกอนถึงรอยละ 12.00 และปริมาณผลผลิตเพิ่มขึ้นรอยละ 8.24  (ตารางที่ 2-5

               และ ตารางที่ 2-6)

                              มะขามหวาน ปเพาะปลูก 2546 มีพื้นที่ปลูกมะขามหวาน 476,722 ไร เปนพื้นที่ที่ให

               ผลผลิตแลว 406,306 ไร ผลผลิตรวม 219,957 ตัน ผลผลิตเฉลี่ยตอไร 541 กิโลกรัม ราคาขายเฉลี่ย
               31.84 บาทตอกิโลกรัม สัดสวนผลผลิตมะขามหวานตอผลผลิตมะขามรวมทั้งประเทศรอยละ 80.37

               ซึ่งสัดสวนนี้ไดเพิ่มขึ้นเรื่อยมาตั้งแตรอยละ 44.18 ในปเพาะปลูก 2537 โดยเพิ่มขึ้นอยางเห็นชัด

               ตั้งแตปเพาะปลูก 2539-2546 โดยมีสัดสวนระหวางรอยละ 53.13-80.37 ทั้งนี้เนื่องจากในชวงกอน
               10 ปที่แลวมะขามหวานมีราคาสูงเปนที่นิยมของผูบริโภค สามารถสรางรายไดและฐานะใหแก

               เกษตรกรหลายราย โดยเฉพาะในจังหวัดเพชรบูรณ ตอมามีการปลูกตามกันทําใหพื้นที่ปลูก

               ขยายเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็ว ในปเพาะปลูก 2538 เพิ่มขึ้นจากการปเพาะปลูก 2537 ถึงรอยละ 21.56 และ

               เพิ่มขึ้นตอเนื่องถึงปเพาะปลูก 2539 และ 2540 รอยละ 14.54 และ 10.75 ตามลําดับ ทําใหปริมาณ
               ผลผลิตเพิ่มมากและราคาผลผลิตต่ําลงเรื่อยๆทุกปในชวงหลังเนื่องจากตนมะขามหวานที่ปลูก

               ในชวงที่กําลังไดรับความนิยมเริ่มใหผลผลิตพรอมๆกันหลังจากการปลูกประมาณ 4-5 ปรวมกับ

               พื้นที่เดิมที่ใหผลผลิตอยูแลว  เมื่อปริมาณผลผลิตมากเกินความตองการของตลาดและความนิยม
               ในการบริโภคลดลงราคาผลผลิตจึงต่ําเกษตรกรจึงลดพื้นที่ปลูก จากปเพาะปลูก 2540 พื้นที่ปลูกเพิ่มขึ้น

               ในอัตราที่ลดลงจากเพิ่มขึ้นในอัตรารอยละ 10.75 ในปเพาะปลูก 2540 ลดลงเปนรอยละ 3.23

               ในปเพาะปลูก 2541 และเพิ่มขึ้นในอัตราต่ําในปเพาะปลูก 2543 และ 2544 ซึ่งอาจจะเปนพื้นที่ปลูก
               ใหมในจังหวัดภาคตะวันออกและภาคกลาง (ตารางที่ 2 -6)

                              จังหวัดที่เปนแหลงผลิตและมีพื้นที่ปลูกมะขามหวานมากที่สุดในประเทศ ไดแก

               จังหวัดเพชรบูรณ ซึ่งไดชื่อวา “เมืองมะขามหวาน” โดยปเพาะปลูก 2546 มีพื้นที่ปลูกรวม
               98,240 ไร (รอยละ 20.61 ของพื้นที่ปลูกทั้งประเทศ) เปนพื้นที่ที่ใหผลผลิตแลว 87,873 ไร (รอยละ

               21.63 ของพื้นที่ที่ใหผลผลิตแลวทั้งประเทศ) ผลผลิตรวม 38,750 ตัน (รอยละ 17.62 ของผลผลิตทั้งประเทศ)







               เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจมะขาม                                                                     สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน
   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49