Page 39 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจมะขาม
P. 39

2-23






                                     2) โครงการพัฒนาแหลงน้ําผิวดินภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
                                         โครงการพัฒนาแหลงน้ําผิวดินภาคตะวันออกเฉียงเหนือแบงเปนโครงการ

                       ขนาดใหญและขนาดกลาง จํานวน 297 โครงการ พื้นที่ไดรับประโยชน 3,342,000 ไร โครงการ

                       ขนาดเล็ก จํานวน 5,020 โครงการ พื้นที่ไดรับประโยชน 3,260,000 ไร และโครงการสูบน้ําดวยไฟฟา
                       จํานวน 1,041 โครงการ พื้นที่ไดรับประโยชน 1,506,000 ไร

                                     3) โครงการพัฒนาแหลงน้ําผิวดินภาคกลาง

                                         โครงการพัฒนาแหลงน้ําผิวดินภาคกลางแบงเปนโครงการขนาดใหญและ

                       ขนาดกลาง จํานวน 109 โครงการ พื้นที่ไดรับประโยชน 12,078,000 ไร โครงการขนาดเล็ก จํานวน
                       1,548 โครงการ พื้นที่ไดรับประโยชน 2,773,000 ไร และโครงการสูบน้ําดวยไฟฟา จํานวน 137

                       โครงการ พื้นที่ไดรับประโยชน 188,000 ไร

                                     4) โครงการพัฒนาแหลงน้ําผิวดินภาคตะวันออก

                                         โครงการพัฒนาแหลงน้ําผิวดินภาคตะวันออกแบงเปนโครงการขนาดใหญ
                       และขนาดกลาง จํานวน 67 โครงการ พื้นที่ไดรับประโยชน 1,447,000 ไร โครงการขนาดเล็ก

                       จํานวน 673 โครงการ พื้นที่ไดรับประโยชน 1,002,000 ไร และโครงการสูบน้ําดวยไฟฟา จํานวน

                       84 โครงการ พื้นที่ไดรับประโยชน 148,000 ไร
                                     5) โครงการพัฒนาแหลงน้ําผิวดินภาคใต

                                         โครงการพัฒนาแหลงน้ําผิวดินภาคใตแบงเปนโครงการขนาดใหญและ

                       ขนาดกลาง จํานวน 84 โครงการ พื้นที่ไดรับประโยชน 2,061,000 ไร โครงการขนาดเล็ก จํานวน
                       1,198 โครงการ พื้นที่ไดรับประโยชน 1,555,000 ไร และโครงการสูบน้ําดวยไฟฟา จํานวน 99

                       โครงการ พื้นที่ไดรับประโยชน 115,000ไร



                       2.5    สภาพการผลิตและการใชประโยชน


                              มะขามเปนไมยืนตนที่ปลูกไดทุกสภาพพื้นที่ทนตอความแหงแลงมีอายุยืนและมีประโยชน
                       มากมาย ตั้งแตรับประทานผล ใบ ดอก เปลือกหุมเมล็ด เมล็ดและเนื้อมะขามเปยก ใชทําสมุนไพร

                       รักษาโรค ลําตนใชทําเขียง ดังจะเห็นไดวามะขามอยูคูครัวไทยมาแตโบราณและผลผลิตสามารถ

                       เก็บไวไดนาน มะขามเปรี้ยวพื้นเมืองแพรเขามาในประเทศไทยผานทางประเทศพมา เริ่มแรก
                       นํามาปลูกที่บริเวณอําเภอหลมเกา จังหวัดเพชรบูรณ ตอมากลายพันธุเปนมะขามหวานพันธุแรก

                       ชื่อพันธุหมื่นจง หลังจากนั้นมีการพัฒนาสายพันธุมะขามเปรี้ยวกลายเปนมะขามหวาน สําหรับ

                       บริโภคผลสดไดเลย จึงทําใหมีมะขามหวานพันธุตางๆ เปนที่นิยมบริโภคกันอยางแพรหลายซึ่งเคย
                       มีราคาสูงสรางรายไดใหแกเกษตรกรมาแลวโดยเฉพาะจังหวัดเพชรบูรณ จนเปนสัญลักษณ





                       เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจมะขาม                                                                     สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน
   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44