Page 36 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจมะขาม
P. 36

2-20






                                 แมน้ําตาป ตนน้ําเกิดจากเขาใหญหรือเขาหลวงซึ่งเปนสวนหนึ่งของเทือกเขา
               บรรทัดในอําเภอทุงใหญ จังหวัดนครศรีธรรมราช ผานอําเภอฉวางเขาเขตจังหวัดสุราษฎรธานี

               มีแมน้ําคีรีรัฐไหลมาบรรจบและไหลลงสูอาวไทยที่อําเภอเมืองสุราษฎรธานี แมน้ํานี้เดิมเรียกวา

               แมน้ําหลวง ไดเปลี่ยนมาเรียกชื่อเปนแมน้ําตาป เมื่อตั้งจังหวัดสุราษฎรธานี ใน พ.ศ.2485  และ
               ตอนที่แมน้ํานี้จะไหลออกสูทะเลเรียกกันวา แมน้ําบานดอน

                                 แมน้ําตรัง ตนน้ําเกิดจากเทือกเขาบรรทัดในเขตอําเภอทุงสง จังหวัด

               นครศรีธรรมราช และเทือกเขาบางสวนในเขตจังหวัดกระบี่ ไหลผานเขาสูจังหวัดตรังลงสูทะเล

               ในเขตอําเภอกันตัง อันเปนเมืองทาเรือที่สําคัญแหงหนึ่งในภาคใต มีความยาวตลอดลําน้ําประมาณ
               123 กิโลเมตร

                                 แมน้ําปตตานี ตนน้ําอยูในเทือกเขาสันกาลาคีรีกั้นพรมแดนไทยกับสหพันธรัฐ

               มาเลเซียในเขตอําเภอเบตง จังหวัดยะลา เปนแมน้ําที่ไหลผานอําเภอธารโต อําเภอบันนังสตา และ

               อําเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา และไหลผานจังหวัดปตตานีที่อําเภอยะรัง จนกระทั่งออกสูอาวไทยที่
               อําเภอเมืองปตตานี จังหวัดปตตานี มีความยาวตลอดลําน้ําประมาณ 120 กิโลเมตร

                                 แมน้ําสายบุรี ตนน้ําเกิดจากเทือกเขาสันกาลาคีรีระหวางเขาคุลากาโอกับเขาตาโบ

               ในอําเภอสุคิริน จังหวัดนราธิวาส ไหลขึ้นไปทางเหนือผานอําเภอศรีสาคร อําเภอรือเสาะ จังหวัด
               นราธิวาส และไหลผานเขาไปในเขตอําเภอรามัน จังหวัดยะลา และไหลลงสูอาวไทยที่อําเภอสายบุรี

               จังหวัดปตตานี มีความยาวตลอดลําน้ําประมาณ 186 กิโลเมตร

                                 แมน้ําโก-ลก ตนน้ําเกิดจากเทือกเขาสันกาลาคีรีในเขตอําเภอสุคิริน อําเภอแวง
               จังหวัดนราธิวาส และไหลลงสูอาวไทยที่อําเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส  เปนแมน้ําที่แบงเขตแดน

               ระหวางประเทศไทยกับสหพันธรัฐมาเลเซีย

                       2.4.2 โครงการพัฒนาแหลงน้ําผิวดิน

                              โครงการพัฒนาแหลงน้ําผิวดินไดมีหนวยงานตางๆ กอสรางโครงการพัฒนา
               แหลงน้ําผิวดินทั้งโครงการขนาดใหญ ขนาดกลาง และขนาดเล็กรูปแบบตางๆ มีรายละเอียด

               โดยสรุปดังนี้ (ตารางที่ 2-3)

                              1) โครงการพัฒนาแหลงน้ําผิวดินภาคเหนือ

                                 โครงการพัฒนาแหลงน้ําผิวดินภาคเหนือแบงเปนโครงการขนาดใหญและ
               ขนาดกลาง จํานวน 138 โครงการ พื้นที่ไดรับประโยชน 2,949,000 ไร โครงการขนาดเล็ก จํานวน

               2,167 โครงการ พื้นที่ไดรับประโยชน 6,337,000 ไร และโครงการสูบน้ําดวยไฟฟา จํานวน 624

               โครงการ พื้นที่ไดรับประโยชน 918,000 ไร






               เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจมะขาม                                                                     สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน
   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41