Page 33 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจมะขาม
P. 33

2-17






                       ภูมิพลกั้นขวางลําน้ํา ครั้นแลวแมน้ําปงก็ไหลมาบรรจบกับแมน้ํานานที่จังหวัดนครสวรรค และ
                       กําเนิดเปนแมน้ําเจาพระยา แมน้ําปงมีความยาวประมาณ 600 กิโลเมตร

                                         แมน้ําวัง มีแหลงกําเนิดบนเทือกเขาผีปนน้ําและเทือกเขาขุนตาลในเขตจังหวัด

                       ลําปาง ไหลผานอําเภอแจหม อําเภอเมืองลําปาง อําเภอเถิน จังหวัดลําปาง ไปสูที่ราบจังหวัดตาก
                       และเขารวมกับแมน้ําปงที่อําเภอบานตาก แมน้ําวังมีความยาวประมาณ 300  กิโลเมตร และไมมี

                       ลําน้ําสาขาขนาดใหญเชนแมน้ําปง แตมีหวยที่นับวาใหญสําหรับแมน้ําวังก็คือ น้ําแมตุยและ

                       น้ําแมจาง ซึ่งไหลมารวมกับแมน้ําวังที่บริเวณอําเภอเกาะคา จังหวัดลําปาง

                                         แมน้ํายม มีแหลงกําเนิดจากเทือกเขาในเขตอําเภอปง จังหวัดพะเยา ไหลมา
                       บรรจบกับน้ําแมงาวในเขตอําเภอสอง บริเวณที่ทางหลวงสายอําเภอรองกวาง-อําเภองาว ตัดผาน

                       แลวไหลลงมาทางใตผานที่ราบจังหวัดแพร ผานซอกเขาในเขตอําเภอสอง มาออกที่ราบของจังหวัด

                       สุโขทัยที่อําเภอศรีสัชนาลัย อําเภอสวรรคโลก อําเภอเมืองสุโขทัย อําเภอกงไกรลาศ และไหลผาน
                       เขามาในเขตจังหวัดพิษณุโลกที่อําเภอบางระกํา ไปบรรจบกับแมน้ํานานที่อําเภอชุมแสง จังหวัด

                       นครสวรรค รวมความยาวทั้งสิ้นประมาณ 530 กิโลเมตร

                                         แมน้ํานาน มีแหลงกําเนิดจากเทือกเขาตอนเหนือของจังหวัดนานและไหลลงใต

                       ผานที่ราบผืนแคบๆ ของจังหวัดนาน แลวไหลผานซอกเขาลงมาทางใตจนถึงอําเภอทาปลา จังหวัด
                       อุตรดิตถ จากนั้นแมน้ํานานเริ่มเบนตัวไปทางทิศตะวันตก ออกสูที่ราบจังหวัดอุตรดิตถ พิษณุโลก

                       พิจิตร มาบรรจบกับแมน้ํายม ที่อําเภอชุมแสง แลวไหลเขารวมกับแมน้ําปงไหลลงสูแมน้ําเจาพระยา

                       ที่จังหวัดนครสวรรค แมน้ํานานมีความยาวประมาณ 615 กิโลเมตร
                                     2) แหลงน้ําในภาคกลาง

                                         แหลงน้ําในภาคกลาง จากการที่ลักษณะภูมิประเทศของภาคนี้เปนที่ราบลุม

                       กวางใหญ ซึ่งไดชื่อวาเปนอูขาวอูน้ําของประเทศไทย มีแมน้ําที่สําคัญ คือ

                                         แมน้ําเจาพระยา เริ่มบริเวณแมน้ําปงและแมน้ํานานไหลมารวมบรรจบกัน
                       ที่อําเภอเมืองนครสวรรค จังหวัดนครสวรรค ไหลไปทางทิศใต มีแมน้ําสะแกกรังไหลมาบรรจบที่

                       อําเภอวัดสิงห  จังหวัดชัยนาท มีแมน้ําสุพรรณบุรีแยกทางฝงตะวันตกที่อําเภอเมืองชัยนาท จังหวัด

                       ชัยนาท มีแมน้ํานอยแยกไปทางฝงตะวันตก และแมน้ําเจาพระยาไหลผานลงมาถึงจังหวัดสิงหบุรี
                       มีคลองบางพุทราแยกไปทางดานตะวันออก ซึ่งคลองนี้ไหลไปลงแมน้ําลพบุรี ตอจากนั้น

                       แมน้ําเจาพระยาจะไหลผานจังหวัดอางทอง เขาเขตจังหวัดพระนครศรีอยุธยาที่อําเภอบางบาล

                       และมีแมน้ําปาสักไหลมาลงแมน้ําเจาพระยาที่จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ตอจากนั้นแมน้ําเจาพระยา

                       ไหลลงใตผานจังหวัดปทุมธานี นนทบุรี และกรุงเทพมหานคร ลงสูอาวไทยที่จังหวัดสมุทรปราการ
                       รวมความยาวประมาณ 360 กิโลเมตร





                       เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจมะขาม                                                                     สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน
   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38