Page 12 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจถั่วเหลืองฤดูแล้งในเขตชลประทาน
P. 12

1-3








                           1.3.3 การนําเขาและวิเคราะห

                                การวิเคราะหขอมูลเฉพาะดานตางๆ ไดมีการนําเขาขอมูลเชิงอรรถาธิบายและขอมูลเชิงพื้นที่

                       ดวยโปรแกรมคอมพิวเตอรตางๆ อาทิ เชน MS-Word Ms-Excel Cropwat ALES SPSS ArcInfo
                       และ ArcView เปนตน และดําเนินการดังตอไปนี้

                                1)  ศึกษาและวิเคราะหการใชที่ดินสําหรับพืชเศรษฐกิจถั่วเหลืองฤดูแลงในเขต

                       ชลประทานในสภาพปจจุบัน โดยการศึกษาวิเคราะหขอมูลที่ไดจากการสํารวจภาคสนามรวมกับ

                       ขอมูลที่ไดจากสวนวิเคราะหสภาพการใชที่ดิน สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน เพื่อให
                       ไดขอมูลสอดคลองกับสภาพการผลิตในปจจุบัน

                                2) วิเคราะหความเหมาะสมของที่ดินกับการปลูกพืชเศรษฐกิจถั่วเหลืองฤดูแลงใน

                       เขตชลประทาน จากรายงานเขตความเหมาะสมของดินกับการปลูกพืชเศรษฐกิจ โดยศึกษารวมกับ
                       การใชที่ดินและการจัดการพื้นที่

                                3) วิเคราะหพื้นที่เปาหมายในการผลิตใหสอดคลองกับนโยบายและยุทธศาสตรของ

                       กระทรวงเกษตรและสหกรณ  ป 2547-2551 ซึ่งกําหนดพื้นที่ปลูกและผลผลิตรวมทั้งประเทศ

                       ในป 2551 เทากับ 1.2 ลานไร และ ไดผลผลิตรวม 0.35 ลานตัน สัดสวนถั่วเหลืองฤดูแลง : ถั่วเหลืองฤดูฝน
                       เทากับ 70:30

                                4) การวิเคราะหขอมูลดานเศรษฐกิจ

                                  4.1) ทําการวิเคราะหเพื่อประเมินความเหมาะสมของพืชเศรษฐกิจกับสภาพพื้นที่
                       ประกอบกับขอมูลเชิงพื้นที่ของผลผลิตถั่วเหลืองฤดูแลงในเขตชลประทาน ที่เกษตรกรเพาะปลูก

                       ในกลุมชุดดินที่มีความเหมาะสมที่แตกตางกัน เปนการวิเคราะหขอมูลเพื่อใหสามารถคัดเลือก

                       พื้นที่ที่เหมาะสมทั้งทางดานกายภาพของพื้นที่และผลตอบแทนทางดานเศรษฐกิจที่มีลักษณะ
                       สอดคลองทิศทางเดียวกัน ในการนี้ จึงไดใชปจจัยดานผลผลิตเฉลี่ยตอไร ของการผลิตถั่วเหลืองฤดูแลง

                       ในกลุมชุดดินที่มีระดับความเหมาะสมสูง (S1) และ กลุมชุดดินที่มีระดับความเหมาะสมปานกลาง (S2)

                       เปนเครื่องมือในการตัดสินใจ โดยใชหลักการวิเคราะหของดานสถิติ
                                  4.2) การวิเคราะหขอมูลเพื่อประเมินผลตอบแทนทางดานเศรษฐกิจ ไดนําวิธีการ

                       จากระบบ FAO Frame work (1983) มาประยุกตใชรวมกับหลักการทางสถิติ ทําการวิเคราะห

                       ขอมูลการผลิตในปการเพาะปลูกปจจุบัน เพื่อหาตนทุนและผลตอบแทนของการผลิตถั่วเหลืองฤดูแลง

                       ซึ่งผลตอบแทนจะอยูในรูปของมูลคาบาทตอไร












                       เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจถั่วเหลืองฤดูแลงในเขตชลประทาน    สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน
   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17