Page 11 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจถั่วเหลืองฤดูแล้งในเขตชลประทาน
P. 11

1-2








               1.2  วัตถุประสงค


                        1) เพื่อกําหนดเขตการใชที่ดินที่เหมาะสมทั้งทางดานกายภาพ เศรษฐกิจและสังคม
                        2) เพื่อใชเปนฐานขอมูลในการกําหนดแผนงานพัฒนาพืชเศรษฐกิจถั่วเหลืองฤดูแลง

               ในเขตชลประทาน ในระดับพื้นที่

                        3)  เพื่อเปนขอมูลในการวางแผนการผลิตและการตลาดใหมีปริมาณเพียงพอตอการ

               บริโภคภายในประเทศ และลดการนําเขารวมถึงอุตสาหกรรมตอเนื่องที่เกี่ยวของ
                        4) เพื่อการพัฒนาศักยภาพการผลิตถั่วเหลืองฤดูแลงหลังนาในเขตชลประทาน

               โดยเฉพาะเปนพืชปลูกทดแทนการทํานาปรังในบริเวณที่มีน้ํานอยและไมเพียงพอตอการปลูกขาว


               1.3  ขั้นตอนและวิธีการดําเนินการ


                   1.3.1 การรวบรวมขอมูลทั่วไป

                        ขอมูลที่นํามาใชเปนฐานในการศึกษาและวิเคราะห มีทั้งขอมูลเชิงอรรถาธิบายและ

               ขอมูลเชิงพื้นที่ ดังนี้

                        1)  ขอมูลเชิงอรรถาธิบาย ไดแก ขอมูลดานทรัพยากรตางๆ ที่เกี่ยวของ คือ สภาพ
               ภูมิอากาศทรัพยากรดิน ทรัพยากรน้ํา ทรัพยากรปาไม สภาพการใชที่ดิน ตลอดจนนโยบายของ

               รัฐบาลที่เกี่ยวของและโครงสรางพื้นฐานอื่นๆ

                        2) ขอมูลเชิงพื้นที่ ไดแก ขอมูลแผนที่สภาพภูมิประเทศและขอบเขตการปกครอง

               แผนที่กลุมชุดดิน แผนที่ปาสงวนแหงชาติ แผนที่อุทยานแหงชาติ แผนที่เขตรักษาพันธุสัตวปา
               แผนที่การใชที่ดิน แผนที่ปฏิรูปที่ดินเพื่อการเกษตร แผนที่ปาชายเลน และแผนที่โครงการชลประทาน

               เปนตน

                   1.3.2 การรวบรวมขอมูลทางดานเศรษฐกิจและสังคม


                        ทําการรวบรวมขอมูลทั้งขอมูลปฐมภูมิ (Primary Data) และขอมูลทุติยภูมิ (Secondary Data)
                        1) ขอมูลปฐมภูมิ โดยใชแบบสอบถามขอมูลทางเศรษฐกิจและสังคม สํารวจขอมูลจาก

               เกษตรกรตัวอยางผูปลูกพืชเศรษฐกิจถั่วเหลืองฤดูแลงในเขตชลประทาน โดยวิธีการสุมตัวอยาง

               โดยอาศัยความนาจะเปนที่ระดับความเชื่อมั่น 90%  + 10 (ภาคผนวกที่ 2) ในกลุมชุดดินที่มี

               ความเหมาะสมสูง (S1)  กลุมชุดดินที่มีระดับความเหมาะสมปานกลาง (S2)  และกลุมชุดดินที่มี
               ระดับความเหมาะสมเล็กนอย (S3)

                        2) ขอมูลทุติยภูมิ โดยรวบรวมขอมูลตางๆ จากหนวยงานที่เกี่ยวของ







               เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจถั่วเหลืองฤดูแลงในเขตชลประทาน    สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน
   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16