Page 17 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจถั่วเหลืองฤดูแล้งในเขตชลประทาน
P. 17

2-4








               จังหวัดนครราชสีมา และภาคกลาง สําหรับภาคใตมีฝนตกชุกเกือบตลอดป ยกเวนชวงฤดูรอน พื้นที่
               บริเวณภาคใตฝงตะวันตกซึ่งเปนดานรับลมมรสุมตะวันตกเฉียงใตจะมีปริมาณฝนมากกวาภาคใตฝง

               ตะวันออกในชวงฤดูฝน โดยมีปริมาณฝนมากที่สุดในเดือนกันยายน สวนชวงฤดูหนาวบริเวณภาคใตฝง

               ตะวันออกซึ่งเปนดานรับลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ จะมีปริมาณฝนมากกวาภาคใตฝงตะวันตก
               มีปริมาณฝนมากที่สุดในเดือนพฤศจิกายน พื้นที่ที่มีปริมาณฝนมากที่สุดของภาคใตอยูบริเวณ

               จังหวัดระนองซึ่งมีปริมาณฝนรวมตลอดปมากกวา 4,000  มิลลิเมตร สวนพื้นที่ที่มีฝนนอย ไดแก

               ภาคใตฝงตะวันออกตอนบนดานหลังทิวเขาตะนาวศรี บริเวณจังหวัดเพชรบุรีและจังหวัด
               ประจวบคีรีขันธ (ตารางที่ 2-1 และรูปที่ 2-1)

                       2.2.2   ความชื้นสัมพัทธ

                              ความชื้นสัมพัทธของอากาศเปนอัตราสวนของจํานวนไอน้ําที่มีอยูในอากาศ

               ตอจํานวนไอน้ําที่อาจมีไดจนอิ่มตัวเต็มที่ในอากาศเดียวกันนั้น   ความชื้นสัมพัทธจึงกําหนดเปน
               รอยละโดยใหจํานวนความชื้นที่อิ่มตัวเต็มที่เปน 100 สวน ประเทศไทยตั้งอยูในเขตรอนใกลเสน

               ศูนยสูตรจึงมีอากาศรอนชื้นปกคลุมเกือบตลอดป เวนแตบริเวณที่อยูลึกเขาไปในแผนดิน ตั้งแตภาคกลาง

               ขึ้นไปความชื้นสัมพัทธจะลดลงชัดเจนในชวงฤดูหนาวและฤดูรอน โดยเฉพาะฤดูรอนจะเปนชวง
               ที่ความชื้นสัมพัทธลดลงต่ําสุดในรอบป ในบริเวณดังกลาวมีความชื้นสัมพัทธเฉลี่ยตลอดป  รอยละ

               72 - 74  สวนภาคใตความชื้นสัมพัทธเฉลี่ยจะอยูในชวงรอยละ 79-82 (ตารางที่ 2-2 และ 2-3)

                       2.2.3   อุณหภูมิ

                              อุณหภูมิประเทศไทยตั้งอยูในเขตรอน สภาวะอากาศโดยทั่วไปจึงรอนอบอาว
               เกือบตลอดป อุณหภูมิเฉลี่ยตลอดปของประเทศไทยมีคาประมาณ 27 องศาเซลเซียส อยางไรก็ตาม

               อุณหภูมิจะมีความแตกตางกันไปในแตละพื้นที่และฤดูกาล พื้นที่ที่อยูลึกเขาไปในแผนดินบริเวณ

               ตั้งแตภาคกลางและภาคตะวันออกตอนบนขึ้นไปจนถึงภาคเหนือจะมีอุณหภูมิแตกตางกันมาก
               ระหวางฤดูรอนกับฤดูหนาวและระหวางกลางวันกับกลางคืน สําหรับพื้นที่ซึ่งอยูติดทะเล ไดแก

               ภาคตะวันออกตอนลางและภาคใต ความผันแปรของอุณหภูมิในชวงวันและฤดูกาลจะนอยกวา

               โดยฤดูรอนอากาศไมรอนจัด และฤดูหนาวอากาศไมหนาวจัดเทาพื้นที่ซึ่งอยูลึกเขาไปในแผนดิน
               (ตารางที่ 2-4 และ 2-5)

                                 อาจกลาวโดยสรุปไดวา ฤดูกาลมีองคประกอบของอากาศที่เปนลักษณะสําคัญคือ

               อุณหภูมิและน้ําฝน โดยทั่วไปประเทศไทยตอนบนไดแก ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคกลาง

               และภาคตะวันออก  จะมีอุณหภูมิอยูในเกณฑสูงเกือบตลอดป  นับตั้งแตป 2542 เปนตนมา พบวา
               อุณหภูมิเฉลี่ยมีแนวโนมสูงขึ้นเล็กนอยแตตอเนื่องตลอดจาก 27.0 องศาเซลเซียส เปน 27.5 องศาเซลเซียส

               ในป 2546 เวนแตบริเวณที่อยูใกลทะเลอุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ยในตอนบายจะมีชวงอยูระหวาง


               เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจถั่วเหลืองฤดูแลงในเขตชลประทาน    สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน
   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22