Page 112 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจถั่วเหลืองฤดูแล้งในเขตชลประทาน
P. 112

4-15








                       จะไมมีความแตกตางกัน ผลตอบแทนที่ไดรับจะแตกตางกันที่ตนทุนการผลิต ดังนั้นควรมีการพัฒนา
                       และแนะนําดานการใชปจจัยการผลิตใหมีประสิทธิภาพเพื่อเพิ่มผลผลิตและลดตนทุนการผลิต

                       ของถั่วเหลือง โดยเฉพาะถั่วเหลืองพันธุเชียงใหม 60 ซึ่งราคาที่เกษตรกรขายไดสูงกวา

                       กลุมพันธุอื่นๆ และอัตราผลตอบแทนตอตนทุนทั้งหมดในพื้นที่ที่มีความเหมาะสมสูงและปานกลาง
                       มีคาใกลเคียงกัน คือ 0.77 และ 0.72 ตามลําดับ สําหรับกลุมรวมพันธุจะเห็นวาในพื้นที่ที่มี

                       ความเหมาะสมสูงไดผลผลิตเฉลี่ยสูงสุด และตนทุนต่ําที่สุด ทําใหผลตอบแทนเหนือตนทุนทั้งหมด

                       สูงสุด โดยมีอัตราผลตอบแทนตอตนทุนทั้งหมดสูงกวาที่อื่นๆ ดวย คือ เทากับ 1.42 ดังนั้น
                       กลุมพันธุอื่นๆ จึงควรปลูกในพื้นที่ที่มีความเหมาะสมสูงจึงจะไดผลผลิตดีและหากราคาผลผลิต

                       สูงขึ้น เกษตรกรจะไดรับผลตอบแทนสูงขึ้นดวย ทั้งนี้เนื่องจากในปการผลิต 2547/48 เกษตรกรยังมีปญหา

                       ราคาผลผลิตตกต่ํากวารอยละ 50 นอกจากนี้เกษตรกรประมาณรอยละ 40 ประสบกับปญหาผลผลิต
                       มีคุณภาพต่ํา ดังนั้นจึงควรสงเสริมแนะนําใหเกษตรกรปรับปรุงคุณภาพผลผลิตและใชพันธุ

                       ที่มีคุณภาพเพาะปลูก


































                       เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจถั่วเหลืองฤดูแลงในเขตชลประทาน    สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน
   107   108   109   110   111   112   113   114   115   116   117