Page 111 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจถั่วเหลืองฤดูแล้งในเขตชลประทาน
P. 111

4-14








                       4.2.1   ปญหาการผลิต เกษตรกรมีปญหาการผลิตรอยละ 90.12 ลักษณะของปญหา ไดแก
               ราคาผลผลิตตกต่ํา รอยละ 51.16 ผลผลิตคุณภาพต่ํารอยละ 39.53 ขาดแคลนแหลงน้ําเพื่อการเกษตร

               รอยละ 30.23 ภัยแลงรอยละ 15.12  ปจจัยการผลิตมีราคาสูงรอยละ 9.88 ที่ดินไมเพียงพอ

               รอยละ 8.72 เปนตน (ตารางที่ 4-9)
                       4.2.2   ความตองการความชวยเหลือดานการประกอบอาชีพ

                                    เกษตรกรรอยละ 62.01 มีความตองการใหชวยเหลือดานการประกอบอาชีพ ไดแก

               ความตองการดานการจัดหาและสรางแหลงน้ําเพื่อการเกษตร รอยละ 29.65 รองลงมาไดแก จัดหา

               ปจจัยการผลิตในราคายุติธรรมรอยละ 12.79 จัดสรรที่ดินทํากินและสงเสริมและแนะนําเกี่ยวกับการ
               ปรับปรุงบํารุงดิน รอยละ 8.72 และ 7.56 ตามลําดับ ดังนั้นจะเห็นวา แหลงน้ํามีความสําคัญมาก

               ทางดานการประกอบอาชีพเกษตรกรรม (ตารางที่ 4-9)

                       4.2.3   ทัศนคติในการใชที่ดิน

                              เกษตรกรรอยละ 80.81 เลือกปลูกถั่วเหลืองเพราะเห็นวาใหผลผลิตเร็ว
               และรอยละ 71.51 เห็นวาดูแลรักษางาย รอยละ 12.33 ทําตามเกษตรกรที่ปลูกกอนแลว

               รอยละ 10.47 เห็นวาขายไดราคาดีและใชเงินทุนนอย

                              ความคิดที่จะเปลี่ยนไปปลูกพืชชนิดอื่นแทนถั่วเหลือง เกษตรกรรอยละ 94.19 ไมคิดที่
               จะเปลี่ยนแปลงและไมแนใจรอยละ 5.81 สวนความคิดเห็นตอการเพิ่มผลผลิตของตนเองนั้น

               เกษตรกรมีแนวคิดวาควรลงทุนในการจัดหาแหลงน้ํารอยละ 25.58 เกษตรกรรอยละ 13.95

               มีความเห็นวา ควรเปลี่ยนพันธุใหม และรอยละ 9.30 มีความเห็นวา ควรปรับปรุงดิน
                              สําหรับความคิดที่จะเปลี่ยนไปสูอาชีพนอกการเกษตรนั้น เกษตรกรรอยละ 69.19

               ไมมีความคิดที่จะเปลี่ยนแปลง (ตารางที่ 4-10)

                              จากการศึกษาตนทุนและผลตอบแทนการผลิตถั่วเหลืองในพื้นที่ที่มีความเหมาะสมสูง
               และความเหมาะสมปานกลางของถั่วเหลืองพันธุเชียงใหม60 และกลุมรวมพันธุ (สจ.4 สจ.5

               สุโขทัย 1 สุโขทัย 2 และราชมงคล) จะเห็นวาในพื้นที่ที่มีความเหมาะสมระดับเดียวกัน ผลผลิต

               ของทั้ง 2 พันธุ โดยเฉลี่ยใกลเคียงกัน ในพื้นที่ที่มีความเหมาะสมสูงตนทุนการผลิตของพันธุ

               เชียงใหม60 สูงกวากลุมรวมพันธุรอยละ 37.74 และผลผลิตต่ํากวารอยละ 3.84 ผลตอบแทน
               เหนือตนทุนทั้งหมดของพันธุเชียงใหมจึงต่ํากวาของกลุมรวมพันธุรอยละ 13.17 ในพื้นที่ที่มี

               ความเหมาะสมปานกลาง ผลผลิตเฉลี่ยของ 2 พันธุเกือบเทากัน แตราคาขายผลผลิตของพันธุ

               เชียงใหม 60 สูงกวาจึงทําใหพันธุเชียงใหม 60 ไดผลตอบแทนเหนือตนทุนทั้งหมดสูงกวารอยละ 20.84
               ทั้งที่ตนทุนของพันธุเชียงใหม 60 สูงกวากลุมรวมพันธุรอยละ 16.26 ดังนั้น จึงเห็นวาผลผลิตเฉลี่ย

               ที่ไดจากทั้ง 2 พันธุในพื้นที่ที่มีความเหมาะสมระดับเดียวกันไมมีความแตกตางกันมากนักหรือแทบ


               เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจถั่วเหลืองฤดูแลงในเขตชลประทาน    สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน
   106   107   108   109   110   111   112   113   114   115   116