Page 43 - ผลงานการถอดบทเรียนการจัดการดินเพื่อปลูกพืชสมุนไพร : เผยแพร่ในวันครบรอบสถาปนา 61 ปี วันที่ 23 พฤษภาคม 2567 ภายใต้หัวข้อ “พัฒนาที่ดิน เกษตรกรทำกินอย่างยั่งยืน"
P. 43

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                  41








                 ลักษณะดิน การจ าแนกดิน Fine, kaolinitic, isohyperthermic Kandic Paleustults ชุดดินบ้านจ้อง
             (Bg) การก าเนิด เกิดจากการผุพังสลายตัวของหินทรายแป้งและหินเคลย์ การระบายน้ าดี การไหลบ่าของน้ า

             บนผิวดิน เร็วถึงเร็วมาก การซึมผ่านได้ของน้ าปานกลาง การใช้ประโยชน์ที่ดินเป็นข้าวไร่ ขิง ไม้ผลผสม และ
             ไม้ยืนต้นผสม  การจัดเรียงชั้นดิน Ap-BA-Bt ลักษณะดินเป็นดินลึกมาก ดินบนเป็นดินร่วนเหนียว สีน้ าตาล

             ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัด (pH 5.5) ดินล่างเป็นดินเหนียว สีน้ าตาลเข้มถึงสีแดงปนเหลือง ปฏิกิริยาดินเป็นกรด
             จัดมากถึงเป็นกรดจัด (pH 4.5-5.5) การประเมินความอุดมสมบูรณ์ของดิน พบว่า ดินบนความอุดมสมบูรณ์
             ปานกลาง ส่วนดินล่างความอุดมสมบูรณ์ต่ าถึงปานกลาง (ตารางที่ 1)




         ตารางที่ 1 สมบัติของดินตามชั้นหน้าตัดดิน (Soil profile)





     Horizon    Depth      Texture     pH     OM      Avai. P   Avai. K      CEC          BS        Soil
                                       1:1                                                         Fertility
                 (cm)        class                                                      by sum
                                              (%)    (-------- mg kg ------)  (cmol kg )  (%)
                                                                                  -1
                                                                -1
       Ap         0-8     Clay loam    4.7    1.90     8.0       168.9       12.33       25.48       M
       BA        8-26        Clay      4.2    2.17     4.8       85.9        12.98       24.07       M
       Bt1       26-42       Clay      4.7    1.45     1.3       78.6        14.29       18.95       L
       Bt2       42-66       Clay      4.6    1.33     0.8       54.8        16.00       15.59       L
       Bt3       66-92       Clay      4.8    1.04     0.4       58.2        15.05       12.29       L

       Bt4     92-110+       Clay      4.7    0.92     0.5       56.8        15.41       16.35       L


             8.2 ปัญหาดินที่พบในแปลงปลูกขิงและแนวทางการแก้ไขปัญหา

                               - ดินมีความอุดมสมบูรณ์ค่อนข้างต่ าและมีความเป็นกรด แนวทางแก้ไข ปรับปรุงบ ารุง

             ดิน เพิ่มปริมาณอินทรียวัตถุโดยการใช้ปุ๋ยอินทรีย์ เช่น ปุ๋ยหมัก ปุ๋ยคอก และปุ๋ยพืชสด และการไถกลบตอซัง
             พืช ปรับสภาพความเป็นกรดของดินด้วยปูน เช่น ปูนโดโลไมท์ หรือปูนขาว ฯลฯ เก็บตัวอย่างดินส าหรับ

             วิเคราะห์เพื่อจัดการธาตุอาหารพืช โดยการใช้ปุ๋ยอย่างเหมาะสม

                               - พื้นที่มีความลาดชัน หน้าดินเกิดการชะล้างพังทลายได้ง่าย แนวทางแก้ไข

             วางแผนการใช้ที่ดินอย่างเหมาะสมตามสภาพพื้นที่ จัดท าระบบอนุรักษ์ดินและน้ า ประกอบด้วย มาตรการ

             อนุรักษ์ดินและน้ าวิธีกล ได้แก่ การท าคูเบนน้ า คูรับน้ าขอบเขา ขั้นบันไดดิน บ่อดักตะกอนดิน และฝาย
             ชะลอน้ า มาตรการอนุรักษ์ดินและน้ าวิธีพืช ได้แก่ การปลูกพืชขวางความลาดเทตามแนวระดับ การปลูกพืช

             คลุมดิน การปลูกพืชสลับ การปลูกพืชหมุนเวียน การปลูกพืชตระกูลถั่วเป็นพืชปุ๋ยสด และการปลูกหญ้าแฝก
   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48