Page 34 - ผลงานการถอดบทเรียนการจัดการดินเพื่อปลูกพืชสมุนไพร : เผยแพร่ในวันครบรอบสถาปนา 61 ปี วันที่ 23 พฤษภาคม 2567 ภายใต้หัวข้อ “พัฒนาที่ดิน เกษตรกรทำกินอย่างยั่งยืน"
P. 34

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                  32






          10.กลยุทธ์ในการท าการเกษตรที่ท าให้ประสบความส าเร็จคืออะไร
                 1. การท าการเกษตรแบบปลอดภัย  ไม่พึ่งพาสารเคมีที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ รักษาระบบนิเวศและ

          สิ่งแวดล้อมที่ดี
                 2. การน าความรู้นวัตกรรม ของกรมพัฒนาที่ดินมาใช้

                    - การเก็บตัวอย่างดินมาวิเคราะห์ก่อนปลูกเพื่อน าไปสู่การให้ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน
                    - การผลิตปุ๋ยพระราชทาน,  ปุ๋ยน้ าชีวภาพจากสารเร่งซุปเปอร์พด.2  เพื่อน ามาใช้บ ารุงดิน บ ารุงพืชใน
          แปลงปลูก

                 3. การขยายผลอย่างมีเป้าหมาย ผลิตขมิ้นชันที่มีคุณภาพออกสู่แหล่งรับซื้อ
                 4. ยึดหลักปฏิบัติจริงภายใต้การปลูกพืชแบบลดต้นทุนและปลอดภัยจากการใช้สารเคมี

          11. ปัจจัยที่ส่งผลต่อความส าเร็จมีอะไรบ้าง
                 การมีพื้นฐานความรู้ส าหรับการน านวัตกรรมและเทคโนโลยีต่างๆของกรมพัฒนาที่ดินมาใช้เพื่อพัฒนาคุณภาพ
          ของผลผลิต และเพิ่มผลผลิต  เพื่อให้ผลผลิตเพียงพอและมีคุณภาพที่ดี  ได้แก่ นวัตกรรมจุลินทรีย์ และเทคโนโลยี

          ต่างๆในการบ ารุงปรับปรุงดิน  ลดต้นทุนการผลิต และเพิ่มผลผลิต การใช้ผลิตภัณฑ์จุลินทรีย์พด.เพื่อทดแทนการใช้
          สารเคมี  เป็นต้น

          12 .ปัญหาอุปสรรคในการท าการเกษตร  และแนวทางการแก้ไข
                 1. ปัญหาสภาพการใช้ที่ดิน ดินมีลักษณะเป็นดินร่วนปนทราย  มีความอุดมสมบูรณ์ต่ า  ปฏิกิริยาดินเป็นกรด
          จัดถึงเป็นกรดเล็กน้อย การระบายน้ าดี   จึงต้องมีการน าอินทรียวัตถุมาใช้ในการปรับสภาพดินและบ ารุงดินอยู่เสมอ

          แนวทางแก้ไขคือการน าเอานวัตกรรมเทคโนโลยีชีวภาพของกรมพัฒนาที่ดินมาด าเนินการ แก้ไข เช่น การใช้ปุ๋ยหมัก
          ท าจากจุลินทรีย์สารเร่งซุปเปอร์ พด. 1  การใช้น้ าหมักชีวภาพจากจุลินทรีย์สารเร่งซุปเปอร์ พด. 2 การปลูกปอเทือง

          ให้เป็นปุ๋ยพืชสดปรับปรุงบ ารุงดิน  ท าให้โครงสร้างของดินดีขึ้นเพิ่มธาตุอาหารในดินให้มากขึ้น
                  2. ปัญหาด้านแหล่งน้ า ในพื้นที่นี้เป็นพื้นที่นอกเขตชลประทาน ไม่มีแหล่งน้ าที่เพียงพอส าหรับท าการเกษตร
          จึงต้องใช้วิธีเดินสายน้ าสปริงเกอร์ในแปลงปลูกพืชสมุนไพร

          13. บทสรุปหรือสาระส าคัญที่ได้จากเรื่องเล่านี้คืออะไร
                 1. การเพิ่มมูลค่าสมุนไพรทางเศรษฐกิจ ต่อยอดไปสู่กลุ่มเกษตรกรผู้ปลูกสมุนไพรที่มีคุณภาพ น าไปสู่การ

          ขับเคลื่อนเศรษฐกิจอย่างยั่งยืน
                 2.  ส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพวัตถุดิบสมุนไพรยกระดับมูลค่าผลผลิตให้กับเกษตรกรผู้ปลูกสมุนไพร
                 3.  ส่งเสริมการใช้ยาสมุนไพรและผลิตภัณฑ์สมุนไพรในสถานบริการสุขภาพและในชุมชน

          14. หลักการ แนวคิด ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องในการด าเนินการเรื่องนี้
                 1.  วัสดุ อุปกรณ์ต่างๆ รวมไปทั้งความรู้ที่มี  สามารถเกื้อกูลกันกับผู้อื่นให้สามารถน าไปใช้ให้เกิดประโยชน์ได้

                 2.  ไม่ท าลายสิ่งแวดล้อม
                 3.  ลดต้นทุนการผลิต
                 4.  เพื่อให้เป็นอีกทางเลือกหนึ่งที่สามารถสร้างอาชีพ  สร้างรายได้  และสร้างความเข้มแข็งให้ชุมชน

                 5.  มียาสมุนไพรและผลิตภัณฑ์สมุนไพรที่ได้มาตรฐาน ใช้ในโรงพยาบาลและสถานบริการในทุกระดับ
                 6.  ให้มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี ส่งผลให้บรรลุเป้าหมายของการพัฒนาคนให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี

          และอยู่ในสังคมอย่างมีความสุข
   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39