Page 76 - รายงานการประยุกต์ใช้ฐานข้อมูลการสำรวจระยะไกลจากซอฟต์แวร์รหัสเปิดและคลาวด์คอมพิวติงเพื่องานพัฒนาที่ดิน Utilization of Remote Sensing Database derived from Open-source software and Cloud computing platform for Land Development
P. 76

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน


                                                                                                           67







                       วัตถุประสงค์ของการศึกษา เช่น แสดงข้อมูล อุณหภูมิ (Temperature) ข้อมูลปริมาณน้ าฝน
                       (Precipitation) หรือข้อมูลการใช้ประโยชน์ที่ดิน (Land use) เป็นต้น การใช้งาน GEE สามารถ
                       ด าเนินการผ่านเว็ปไซต์ https://earthengine.google.com/ และใช้งานผ่าน Code Editor ที่ใช้
                       Javascript ในการเขียนค าสั่ง สามารถเรียกใช้ข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียมแบบเปิดได้ง่ายและสามารถใช้งาน

                       ได้ฟรี และจากความก้าวหน้าอันทันสมัยของเทคโนโลยีด้านซอฟต์แวร์รหัสเปิด (open software) และ
                       บนคลาวด์ ๙งเหมาะส าหรับการวิเคราะห์ข้อมูลปริมาณมาก และหลากหลาย ท าให้การวิเคราะห์ข้อมูล เช
                       เช่น การวิเคราะห์สภาพการใช้ที่ดินและการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดิน การประเมินความอุดมสมบูรณืของ
                       พื้นที่ การเกิดภัยแล้ง และความหลากหลายทางชีวภาพ เป็นต้น เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ รวดเร็วลด

                       แรงงานผู้ปฏิบัติงานและค่าใช้จ่าย

                       5.2 ข้อเสนอแนะ
                               5.2.1 ควรประยุกต์ใช้ข้อมูลการส ารวจระยะไกลเพื่อวิเคราะห์ ประเมิน และคาดการณ์พื้นที่
                       ปลูกและผลผลิตของพืชเศรษฐกิจ โดยการความสัมพันธ์กับข้อมูลด้านต่างๆ เช่น การเจริญเติบโตของพืช

                       สมบัติดิน และสภาพอากาศ เป็นต้น และสามารถน ามาวิเคราะห์กับข้อมูลด้านอื่นๆ เช่น อุณหภูมิ ปริมาณ
                       น้ าฝน ความเข้มแสง เส้นชั้นความสูง ตั้งหมู่บ้าน การคมนาคม นโยบายต่างๆ และราคา เป็นต้น เพื่อให้
                       สามารถวางแผนการใช้ที่ดินได้ทั้งระยะสั้นและระยะยาว ได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น  โดยเฉพาะ
                       แผนการใช้ที่ดินระยะสั้นที่ปัจจุบันพบกับความผันผวนทั้งสภาพอากาศ เศรษฐกิจ และนโยบาย ซึ่งจะท า

                       ให้ภาครัฐ เอกชนและเกษตรกรสามารถบริหารจัดการพื้นที่ปลูกและผลผลิตได้อย่างมีประสิทธิภาพ
                               5.2.2 ควรพัฒนาด้าน AI เนื่องจากการวางแผนการใช้ที่ดิน การบริหารจัดการ พื้นที่ปลูกและ
                       ผลผลิต มีฐานข้อมูลมี่ใช้วิเคราะห์ปริมาณมาก การพัฒนากระบวนการและนโยบายที่เกี่ยวข้องกับข้อมูล
                               ที่เหมาะสม สิ่งส าคัญที่องค์กรต้องพิจารณาคือการสร้างความมั่นใจว่า ข้อมูลนั้นพร้อมใช้งานใน

                       เวลาที่ต้องการ สามารถน าไปใช้งานได้จริง มีคุณภาพ และน ามาใช้งานร่วมกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่ง
                       ระบบ AI เป็นระบบที่ถูกน ามาประยุกต์ใช้เพื่อการวิเคราะห์ข้อมูลแบบอัตโนมัติอย่างแพร่หลาย
                               5.2.3 ควรบูรณาการระหว่างหน่วยงาน โดยเฉพาะการบริการด้านข้อมูล เช่น ข้อมูลภาพถ่าย
                       ดาวเทียม การส่งข้อมูลภาคสนามจากหน่วยงานในภูมิภาค เช่น ปฏิทินการเพาะปลูก การจัดการแปลง เป็นต้น

                               5.2.4 ควรพัฒนาบุคลากรด้านการส ารวจระยะไกลและด้าน Data Science

                       5.3 ประโยชน์ที่ได้รับ
                               5.3.1 ประยุกต์ใช้ฐานข้อมูลการส ารวจระยะไกลเพื่องานพัฒนาที่ดิน
                               5.3.2 เป็นแนวทางในการเตรียมฐานข้อมูลการส ารวจระยะไกลจากซอฟต์แวร์รหัสเปิดและ
                       คลาวด์คอมพิวติง

                                   5.3.3 พัฒนากระบวนการจัดท าฐานข้อมูลของกรมพัฒนาที่ดินและถ่ายทอดกระบวนการให้แก่
                       หน่วยงานอื่น
                              5.3.4  ลดกระบวนการและระยะเวลาท างาน เนื่องจากมีการเขียนรหัส (code) ครั้งเดียวแล้ว

                       น าไปใช้ได้ในพื้นที่อื่น เพียงเปลี่ยนข้อมมูลใน code เพียงเล็กน้อย
   71   72   73   74   75   76   77   78   79   80   81