Page 48 - รายงานการประยุกต์ใช้ฐานข้อมูลการสำรวจระยะไกลจากซอฟต์แวร์รหัสเปิดและคลาวด์คอมพิวติงเพื่องานพัฒนาที่ดิน Utilization of Remote Sensing Database derived from Open-source software and Cloud computing platform for Land Development
P. 48

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน


                                                                                                           40













































                       ภาพที่ 23 หลักการการจ าแนกประเภทที่มีก ากับดูแลแบบ Maximum likelihood
                       ที่มา: Alzate (2011)

                       3.4  การประยุกต์ใช้เทคโนโนยีการเรียนรู้ของเครื่องจักรในการการจ าแนกข้อมูลภาพด้วย

                       คอมพิวเตอร์
                               ปัจจุบันมีข้อมูลภาพถ่ายจากเทคโนโลยีส ารวจระยะไกลให้บริการจ านวนมาก และเทคนิคการ
                       ประมวลผลภาพดิจิทัลและอัลกอริธึมในการจ าแนกพิกเซลก็สามารถเข้าถึงได้ง่ายเช่นกัน ท าให้มีความ

                       พยายามในการหาแนวทางที่จะประยุกต์ใช้เทคโนโนยีการเรียนรู้ของเครื่องจักรในการการจ าแนก
                       ข้อมูลภาพด้วยคอมพิวเตอร์ ทั้งการแปลแบบมีการก ากับดูแลและไม่มีการการดูแล โดยเทคนิคที่นิยมใช้
                       ได้แก่ เทคนิคแบบป่าแบบสุ่ม (Tso & Mather, 2009) และ เทคนิค support vector machine (SVM)

                       การพัฒนาของเทคโนโลยีการส ารวจระยะไกลในอดีตถึงปัจจุบัน ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์และการ
                       ประมวลผลภาพได้ก้าวหน้าผ่านการจ าแนกข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียมด้วยวิธีการจ าแนกเชิงวัตถุ (Object-
                       based classification) โดยวิธีการจ าแนกเชิงวัตถุ เป็นวิธีที่ไม่ได้ใช้ทุกจุดภาพ (Pixel) ในการจ าแนกเพียง
                       อย่างเดียว มีการใช้พารามิเตอร์อื่นร่วมในการจ าแนกด้วย เช่น พื้นผิว มาตราส่วน สี จากการจัดกลุ่มของ

                       จุดภาพหรือการแบ่งส่วนของภาพในการจัดประเภทข้อมูล จึงมีความแตกต่างกับวิธีการจ าแนกเชิงจุดภาพ
                       (Pixel-based classification) ที่ใช้จุดภาพทุกจุดในการจัดประเภทข้อมูล ซึ่งมักเกิดข้อผิดพลาดในการ
   43   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53