Page 107 - การใช้เทคโนโลยีการสำรวจระยะไกลเพื่อศึกษารูปแบบการเพาะปลูกพืชเศรษฐกิจ Using of remote sensing for economic crops growth pattern study
P. 107

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                           95







                                   4.2.3 รูปแบบการเพาะปลูกสับปะรดจากการเปลี่ยนแปลงของค่าสะท้อนแสงในรอบปี
                                         จากการศึกษาการเจริญเติบโตสับปะรดโดยการศึกษาการเปลี่ยนแปลงทางชีพ
                       ลักษณ์ต่างๆ ได้แก่ ความสูง ความกว้างทรงพุ่ม และปริมาณคลอโรฟิลล์ในใบ จ านวน 24 แปลง พบว่า
                                         1) ความสูง ช่วงเดือนเมษายน 2564 ถึงเดือนธันวาคม 2564 (ภาพที่ 30) ความสูง

                       เฉลี่ยของสับปะรดมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ น และเริ่มลดลงในเดือนมกราคม 2565 และลดต่ าสุดในเดือน
                       มีนาคม 2565 และค่อยๆ เพิ่มอีกครั งระหว่างเดือนเมษายน ถึง เดือนพฤศจิกายน 2565 และพบว่าในช่วง
                       เดือนมกราคม 2565 ถึงเดือนมีนาคม 2565 ค่าความสูงมีความแปรปรวนสูงเนื่องจากช่วงเวลาดังกล่าว
                       เกษตรกรมีการทยอยเก็บเกี่ยวสับปะรด และความแปรปรวนเริ่มลดลงในเดือนเมษายนซึ่งอาจเป็นไปได้ว่า

                       เกษตรกรส่วนใหญ่เก็บเกี่ยวแล้วและปล่อยให้อ้อยงอกขึ นมาใหม่
                                         2) ความกว้างทรงพุ่ม มีการเปลี่ยนแปลงคล้ายความสูงคือ ช่วงเดือนเมษายน 2564
                       ถึงเดือนธันวาคม 2564 (ภาพที่ 31) ความกว้างทรงพุ่มเฉลี่ยของสับปะรดมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ น และเริ่ม
                       ลดลงในเดือนมกราคม 2565 และลดต่ าสุดในเดือนมีนาคม 2565 และค่อยๆ เพิ่มอีกครั งระหว่างเดือน

                       เมษายน ถึง เดือนพฤศจิกายน 2565
                                         3) ปริมาณคลอโรฟิลล์ มีการเปลี่ยนแปลงคล้ายความสูงคือ ช่วงเดือนเมษายน
                       2564 ถึงเดือนธันวาคม 2564 (ภาพที่ 32) ปริมาณคลอโรฟิลล์ของใบสับปะรดมีการเปลี่ยนแปลงตลอดทั ง

                       ปีแต่แตกต่างกันไม่มากนัก แต่อย่างไรก็ตามพบว่าสับปะรดจะมีปริมาณคลอโรฟิลล์ในช่วงแล้งต่ า เช่น
                       ในช่วงเดือนตั งแต่เดือนมกราคมถึงเดือนเมษายน ขณะที่ช่วงที่มีฝนตกจะมีปริมาณคลอโนฟิลล์สูงขึ น เช่น
                       เดือนเดือนพฤษภาคม และเดือนกันยายน และคลอโรฟิลล์ในใบสับปะรดมีแนวโน้มลดลงในช่วงที่มีฝนทิ ง
                       ช่วงระหว่างเดือนมิถุนายนถึงเดือนสิงหาคม ซึ่งเกิดจากสับปะรดส่วนใหญ่ไม่มีระบบการให้น  า อาศัยน  าฝน
                       เพียงอย่างเดียวจึงท าให้มีน  าในการเจริญเติบโตน้อย จึงท าให้ปริมาณคลอโรฟิลล์ลดลง

                                         4) จากการศึกษาพบว่า การเปลี่ยนแปลงทางชีพลักษณ์ต่างๆ ได้แก่ ความสูง ความ
                       กว้างทรงพุ่ม ขนาดเส้นรอบล าต้น และปริมาณคลอโรฟิลล์ในใบในเดือนมกราคมถึงเดือนมีนาค.มีความ
                       แปรปรวนสูง เนื่องจากมีหลายช่วงอายุตั งแต่แปลงที่มีการเก็บเกี่ยวท าให้ค่าชีพลักษณ์ต่างๆ มีค่าเป็นศูนย์

                       และแปลงที่มีการเจริญเติบโตเต็มที่พร้อมเก็บเกี่ยวซึ่งค่าชีพลักษณ์ต่างๆ ซึ่งเมื่อเปรียบเทียบกับค่าดัชนีพืช
                       พรรณที่ท าการปรับมาตราส่วนโดยการน าค่าความสูง ความกว้างทรงพุ่ม ขนาดเส้นรอบล าต้น และ
                                              -2
                       ปริมาณคลอโรฟิลล์ คูณ 10  เพื่อใช้ดูลักษณะแนวโน้ม ซึ่งพบว่าค่าชีพลักษณ์ต่างๆมีการเปลี่ยนแปลง
                       คล้ายการเปลี่ยนแปลงของค่าดัชนีต่างๆ ในรอบปี (ภาพที่ 33)
   102   103   104   105   106   107   108   109   110   111   112