Page 211 - คำนิยามข้อมูลแผนที่การใช้ที่ดิน
P. 211

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                           188



                               8) A  พืชนํา (Aquatic  plant) หมายถึง พื้นที่ที่มีการเพาะปลูกพืชนําเพือการคา ซึ่ง
               หมายถึงพืชที่เจริญเติบโตอยูในน้ําหรือมีชวงชีวิตหนึ่งที่เจริญอยูในน้ํา ซึ่งอาจจมอยูใตน้ําทั้งหมดหรือโผล

               บางสวนขึ้นสูบริเวณผิวน้ํา ลอยอยูที่ผิวน้ําหรือเจริญเติบโตบริเวณริมฝง รวมถึงพืชที่เจริญเติบโตในบริเวณที่มี
               น้ําขัง พื้นที่ชื้นแฉะทั้งในน้ําจืด น้ํากรอย และน้ําเค็ม (อุทยานวิทยาศาสตรพระจอมเกลา ณ หวากอ,
               2555)
                                  -  A801  พืชน้ําผสม (Mixed  aquatic  plant) หมายถึง พื้นที่ปลูกพืชน้ํามากกวา 2

               ชนิดปลูกรวมกัน ระบุรหัสชนิดพืชในชอง LU_DES เรียงตามรหัส LU_CODE เชน กก, บัว, กระจับ

                                  -  A802 กก (Reed) หมายถึง พื้นที่ปลูกกกจันทบุรี (Cyperus corymbosus) กก
               ราชินี (Cyperus involucratus Roxb.) และกกกลมหรือกกยูนาน (Scirpus  mucronatus Linn.) หรือกก
               ชนิดอื่นๆ ที่มุงเนนเพื่อเปนการคาโดยนําไปทําเปนเครื่องจักรสานประเภทตางๆ กกเปนไมลมลุก มีลําตนใตดิน
               หรือไหล ลําตนเหนือดินมีลักษณะเปนกานแข็งกลม สูงประมาณ 1.2 - 2.4 เมตร ใบมีขนาดสั้นแผเปนกาบหุม

               สวนโคนของลําตน ดอกออกเปนชอกลมสีน้ําตาลสีน้ําตาลแดงที่ปลายยอด มีใบประดับที่ปลายลําตนเปนเสน
               กลมเล็กยาว 12-24  เซนติเมตร หอยโนมลง 50-100  เสน กกมักมีลําตนตัน และเปนสามเหลี่ยมหรือสามมุม
               บางชนิดมีผนังกั้นแบงเปนหอง ๆ มีกาบใบอยูชิดกันมาก  และที่สําคัญคือเกือบไมมีลิ้นใบ บางชนิดไมมี
               เลย   ลักษณะสําคัญอีกประการหนึ่งของกก   คือ  ดอกแตละดอกจะมี glume   หอหุมหรือรองรับเพียงอัน

               เดียว   กกมีไหล เลื้อยไปใตดินและจากไหลก็จะแตกเปนลําตนเรียกวา culm   ที่ตันโผลพนขึ้นมาเหนือ
               ดิน  และเมื่อผาลําตนดูตามขวางจะมีลักษณะเปนสามเหลี่ยมหรือสามมุมดังไดกลาวมาแลว  ลําตนกกจะไม
               แตกกิ่งเหมือนพืชชนิดอื่น  ใบของกกเหมือนกับใบของหญา   แตจะเรียงตัวอัดกันแนนเปนสามมุมหรือสาม
               ตําแหนงรอบโคนตนและมีกาบหอหุมลําตนและไมมีลิ้นใบชอดอกกกจะเกิดที่ปลายลําตนเปนหลายแบบ  เชน

               panicle, umbel หรือ spike และมีดอกขนาดเล็กเปนทั้งดอกที่สมบูรณและไมสมบูรณเพศ   โดยมีดอกรวม
               เรียกวา spikelet ซึ่งประกอบดวยดอกยอย (floret) หนึ่งหรือหลายดอก   แตละดอกมี glume หรือริ้วประดับ
               (bract)  รองรับสวนกลีบดอกหรือ perianth นั้นไมมีหรืออาจมีแตเปลี่ยนรูปรางไปเปนเกล็ด  (scale) หรือขน

               แข็งเล็ก   ๆ (bristle)  ในดอกกกจะมีเกสรเพศผู (filament) แยกกันอยู  สวนเกสรเพศเมียจะมีกานแยกเปน
               สอง – สามแฉกหรือบางครั้งแยกเปนสอง – สามเสน และมีรังไขอยูเหนือกลีบดอก ภายในมีหองเดียวและมี
               หนึ่งเมล็ด (ภาพที่ 257)
   206   207   208   209   210   211   212   213   214   215   216