Page 16 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดยะลา
P. 16

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                9








                               (2) พื้นที่ที่ควรปรับเปลี่ยนการผลิตในพื้นที่ไม่เหมาะสม (S3 หรือ N) ควรสนับสนุนให้
                       เข้าโครงการบริหารจัดการพื้นที่เกษตรกรรม เช่น ท าการเกษตรผสมผสานหรือพืชที่ให้ผลตอบแทนสูงกว่า

                       โดยพิจารณาแหล่งรับซื้อร่วมด้วย

                           2.2  ข้าว
                               ข้าวพืชเศรษฐกิจหลักของยะลาในล าดับที่ 2 จากฐานข้อมูลในแผนที่เกษตรเชิงรุก หรือ

                       Agri-Map Online สามารถวิเคราะห์ข้อมูลได้ดังนี้ (ตารางที่ 5 และภาพที่ 8 - 9)

                               1) การวิเคราะห์ศักยภาพของพื นที่ปลูกข้าว
                               ระดับที่ 1 เป็นพื้นที่ความเหมาะสมสูง (S1) 50,990 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 2.63 ของพื้นที่
                       ศักยภาพของที่ดิน กระจายตัวมากอยู่ในอ าเภอเมืองยะลา 24,626 ไร่ อ าเภอรามัน 23,787 ไร่ และ

                       อ าเภอเบตง 2,577 ไร่
                               ระดับที่ 2 เป็นพื้นที่ความเหมาะสมปานกลาง (S2) มีเนื้อที่ 46,470 ไร่ คิดเป็นร้อยละ

                       2.39 ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายตัวมากอยู่ในอ าเภอเมืองยะลา 27,890 ไร่ อ าเภอรามัน
                       16,084 ไร่ และอ าเภอยะหา 2,496 ไร่

                               ระดับที่ 3 เป็นพื้นที่ความเหมาะสมเล็กน้อย (S3) มีเนื้อที่ 25,562 ไร่ คิดเป็นร้อยละ

                       1.32 ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายตัวมากอยู่ในอ าเภอเมืองยะลา 27,890ไร่ อ าเภอรามัน
                       16,084 ไร่ และอ าเภอยะหา 2,496 ไร่

                               ระดับที่ 4 เป็นพื้นที่ไม่เหมาะสม (N) มีเนื้อที่ 1,818,214 ไร่
                                    2) การวิเคราะห์พื นที่ปลูกข้าวในปัจจุบัน ซึ่งจ าแนกตามชั้นความเหมาะสมของที่ดิน

                       ได้ดังนี้
                                     (1) พื้นที่เหมาะสมสูง (S1) มีเนื้อที่ 7,941 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 15.57 ของพื้นที่ศักยภาพสูง

                       กระจายตัวมากอยู่ในอ าเภอรามัน 5,705 ไร่ และอ าเภอเมืองยะลา 2,236 ไร่

                                     (2) พื้นที่เหมาะสมปานกลาง (S2) มีเนื้อที่ 19,775 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 42.55 ของพื้นที่
                       ศักยภาพปานกลาง กระจายตัวมากอยู่ในอ าเภอเมืองยะลา 9,994 ไร่ อ าเภอรามัน 9,066 ไร่ และ

                       อ าเภอยะหา 715 ไร่

                                     (3) พื้นที่เหมาะสมเล็กน้อย (S3) มีเนื้อที่ 25,562 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 100.00 ของพื้นที่
                       ศักยภาพเล็กน้อย กระจายตัวมากอยู่ในอ าเภอรามัน 15,536 ไร่ อ าเภอเมืองยะลา 4,882 ไร่ และ

                       อ าเภอยะหา 3,037 ไร่

                                     (4) พื้นที่ไม่เหมาะสม (N) มีเนื้อที่ 910 ไร่
                                         3) พื นที่มีศักยภาพคงเหลือ คือ พื้นที่ที่มีศักยภาพในการปลูกข้าวแต่ไม่ใช้พื้นที่ปลูก

                       พิจารณาจากพื้นที่ศักยภาพของที่ดินส าหรับการปลูกข้าว และพื้นที่ปลูกข้าวในชั้นความเหมาะสมต่าง ๆ (ปลูกจริง)
                       พบว่า จังหวัดยะลามีพื้นที่ศักยภาพคงเหลือในระดับความเหมาะสมสูง (S1) และความเหมาะสมปานกลาง (S2)
   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21