Page 12 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดยะลา
P. 12

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                5








                         2.1  ยางพารา
                             ยางพาราพืชเศรษฐกิจหลักของยะลา เนื่องจากมีตลาดยางพาราขนาดใหญ่รองรับ
                       เป็นแหล่งผลิตยางพาราที่ส าคัญ ประกอบกับเกษตรกรมีความถนัดในการผลิตมาตั้งแต่อดีต

                       จากฐานข้อมูลในแผนที่เกษตรเชิงรุก หรือ Agri-Map Online สามารถวิเคราะห์ข้อมูลได้ดังนี้ (ตารางที่ 3

                       และภาพที่ 6 - 7)
                             1) การวิเคราะห์ศักยภาพของพื นที่ปลูกยางพารา
                               ระดับที่ 1 เป็นพื้นที่ความเหมาะสมสูง (S1) มีเนื้อที่ 428,984 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 22.09

                       ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายตัวมากอยู่ในอ าเภอรามัน 142,451 ไร่ อ าเภอยะหา 90,043 ไร่

                       และอ าเภอเมืองยะลา 64,657 ไร่
                               ระดับที่ 2 เป็นพื้นที่ความเหมาะสมปานกลาง (S2) มีเนื้อที่ 137,932 ไร่ คิดเป็นร้อยละ

                       7.10 ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายตัวมากอยู่ในอ าเภอยะหา 37,345 ไร่ อ าเภอรามัน 27,872 ไร่

                       และอ าเภอเมืองยะลา 23,346 ไร่
                               ระดับที่ 3 เป็นพื้นที่ความเหมาะสมเล็กน้อย (S3) มีเนื้อที่ 122,562 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 6.31

                       ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายตัวมากอยู่ในอ าเภอเบตง 49,961 ไร่ อ าเภอรามัน 27,480 ไร่ และ

                       อ าเภอบันนังสตา 15,568 ไร่
                               ระดับที่ 4 เป็นพื้นที่ไม่เหมาะสม (N) มีเนื้อที่ 1,252,744 ไร่

                             2) การวิเคราะห์พื นที่ปลูกยางพาราในปัจจุบัน ซึ่งจ าแนกตามชั้นความเหมาะสมของที่ดิน
                       ได้ดังนี้

                               (1) พื้นที่เหมาะสมสูง (S1) มีเนื้อที่ 256,138 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 59.71 ของพื้นที่ศักยภาพสูง

                       กระจายตัวมากอยู่ในอ าเภอรามัน 95,448 ไร่ อ าเภอยะหา 60,452 ไร่ และอ าเภอเมืองยะลา 31,377 ไร่
                               (2) พื้นที่เหมาะสมปานกลาง (S2) มีเนื้อที่ มีเนื้อที่ 101,885 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 73.87

                       ของพื้นที่ศักยภาพปานกลาง กระจายตัวมากอยู่ในอ าเภอยะหา 31,249 ไร่ อ าเภอรามัน 23,537 ไร่ และ
                       อ าเภอเมืองยะลา 16,880 ไร่

                               (3) พื้นที่เหมาะสมเล็กน้อย (S3) มีเนื้อที่ 105,168 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 85.81 ของพื้นที่

                       ศักยภาพเล็กน้อย กระจายตัวมากอยู่ในอ าเภอเบตง 41,766 ไร่ อ าเภอรามัน 26,818 ไร่ และอ าเภอ
                       เมืองยะลา 13,120 ไร่

                               (4)  พื้นที่ไม่เหมาะสม (N) มีเนื้อที่ 541,799 ไร่

                                3) พื นที่มีศักยภาพคงเหลือ คือ พื้นที่ที่มีศักยภาพในการปลูกยางพาราแต่ไม่ใช้พื้นที่ปลูก
                       พิจารณาจากพื้นที่ศักยภาพของที่ดินส าหรับการปลูกยางพารา และพื้นที่ปลูกยางพาราในชั้นความ

                       เหมาะสมต่าง ๆ (ปลูกจริง) พบว่า จังหวัดยะลามีพื้นที่ศักยภาพคงเหลือในระดับความเหมาะสมสูง (S1)

                       และความเหมาะสมปานกลาง (S2) รวมทั้งสิ้น 208,893 ไร่ กระจายอยู่ทั่วทุกอ าเภอ โดยอ าเภอที่มี
   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17