Page 20 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดปัตตานี
P. 20
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
13
ตารางที่ 5 (ต่อ)
เนื้อที่ชั้นความเหมาะสม (ไร่)
อ าเภอ ประเภทพื้นที่
S1 S2 S3 N รวม
26,632 9,744 29,349 61,946 127,671
พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน
(100.00%) (100.00%) (100.00%) (100.00%) (100.00%)
พื้นที่เพาะปลูกในชั้นความ 5,570 928 6,063 469 13,030
หนองจิก
เหมาะสมต่าง ๆ (ปลูกจริง) (20.91%) (9.52%) (20.66%) (0.76%) (10.21%)
21,062 8,816 29,878
พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ - -
(79.09%) (90.48%) (23.40%)
174,819 68,559 145,804 733,911 1,123,093
พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน
(100.00%) (100.00%) (100.00%) (100.00%) (100.00%)
รวมทั้ง พื้นที่เพาะปลูกในชั้นความ 67,241 26,436 61,604 5,500 160,781
จังหวัด เหมาะสมต่าง ๆ (ปลูกจริง) (38.46%) (38.56%) (42.25%) (0.75%) (14.32%)
107,578 42,123 149,701
พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ - -
(61.54%) (61.44%) (13.33%)
ทั้งนี้ ในการส่งเสริมการปลูกพืชจะพิจารณาเฉพาะพื้นที่ที่มีศักยภาพคงเหลือในระดับ
ความเหมาะสมสูง (S1) และระดับความเหมาะสมปานกลาง (S2) เท่านั้น เนื่องจากสภาพพื้นที่ปลูก
พืชตรงตามศักยภาพของดิน การลงทุนต่ าก็สามารถเพิ่มผลผลิตได้ จึงควรส่งเสริมในพื้นที่ดังกล่าว
เมื่อวิเคราะห์ข้อมูลศักยภาพพื้นที่ร่วมกับพื้นที่ปลูกพืชในปัจจุบัน พบว่า พื้นที่ที่ควรพิจารณา
ให้มีการปรับเปลี่ยนไปปลูกข้าว คือ บริเวณที่เป็นพื้นที่ปลูกยางพารา (S3) 67,051 ไร่ และพื้นที่ปลูกทุเรียน (N)
13,205 ไร่ แต่เนื่องจากนโยบายของคณะกรรมการนโยบายบริหารจัดการข้าวต้องการรักษาดุลยภาพผลผลิตข้าว
ดังนั้น จึงควรพิจารณาปลูกพืชเศรษฐกิจชนิดอื่นที่สอดคล้องกับความต้องการของตลาด (ตารางที่ 6)
ตารางที่ 6 พื้นที่ศักยภาพในการขยายการผลิตข้าว
ยางพารา ทุเรียน
อ าเภอ
S3 N รวม S3 N รวม
กะพ้อ 839 - 839 - 184 184
โคกโพธิ์ 8,755 - 8,755 - 1,904 1,904
ทุ่งยางแดง 1,339 - 1,339 - 475 475
ปะนาเระ 94 - 94 - - -
มายอ 10,264 - 10,264 - 1,619 1,619
เมืองปัตตานี 1,462 - 1,462 - - -
แม่ลาน 7,265 - 7,265 - 307 307
ไม้แก่น 705 - 705 - 268 268
ยะรัง 16,652 - 16,652 - 6,457 6,457
ยะหริ่ง 2,137 - 2,137 - - -
สายบุรี 5,053 - 5,053 - 1,991 1,991
หนองจิก 12,486 - 12,486 - - -
รวม 67,051 - 67,051 - 13,205 13,205