Page 23 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดสระแก้ว
P. 23
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
16
ตารางที่ 7 (ต่อ)
เนื้อที่ชั้นความเหมาะสม (ไร่)
อำเภอ ประเภทพื้นที่
S1 S2 S3 N รวม
- 74,824 173,267 7,789 255,880
พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน
(100.00%) (100.00%) (100.00%) (100.00%)
พื้นที่เพาะปลูกในชั้นความ - 8,454 21,355 1 29,810
วังสมบูรณ์
เหมาะสมต่าง ๆ (ปลูกจริง) (11.3%) (12.32%) (0.01%) (11.65%)
- 66,370 - - 66,370
พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ
(88.7%) (25.94%)
6,860 263,310 219,225 87,796 577,191
พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน
(100.00%) (100.00%) (100.00%) (100.00%) (100.00%)
พื้นที่เพาะปลูกในชั้นความ 676 34,930 28,562 38 64,206
วัฒนานคร
เหมาะสมต่าง ๆ (ปลูกจริง) (9.85%) (13.27%) (13.03%) (0.04%) (11.12%)
6,184 228,380 - - 234,564
พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ
(90.15%) (86.73%) (40.64%)
พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน - 245,450 45,234 123,782 414,466
(100.00%) (100.00%) (100.00%) (100.00%)
พื้นที่เพาะปลูกในชั้นความ - 86,364 9,742 9 96,115
อรัญประเทศ
เหมาะสมต่าง ๆ (ปลูกจริง) (35.19%) (21.54%) (0.01%) (23.19%)
พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ - 159,086 - - 159,086
(64.81%) (38.38%)
พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน 34,432 1,426,664 1,031,543 599,278 3,091,917
(100.00%) (100.00%) (100.00%) (100.00%) (100.00%)
พื้นที่เพาะปลูกในชั้นความ 715 248,600 201,157 65 450,537
รวมทั้งจังหวัด
เหมาะสมต่าง ๆ (ปลูกจริง) (2.08%) (17.43%) (19.5%) (0.01%) (14.57%)
พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ 33,717 1,178,064 - - 1,211,781
(97.92%) (82.57%) (39.19%)
ทั้งนี้ ในการส่งเสริมการปลูกพืชจะพิจารณาเฉพาะพื้นที่ที่มีศักยภาพคงเหลือในระดับ
ความเหมาะสมสูง (S1) และระดับความเหมาะสมปานกลาง (S2) เท่านั้น เนื่องจากสภาพพื้นที่ปลูก
พืชตรงตามศักยภาพของดิน การลงทุนต่ำก็สามารถเพิ่มผลผลิตได้ จึงควรส่งเสริมในพื้นที่ดังกล่าว
เมื่อวิเคราะห์ข้อมูลศักยภาพพื้นที่ร่วมกับพื้นที่ปลูกพืชในปัจจุบัน พบว่า พื้นที่ที่ควร
พิจารณาส่งเสริมให้มีการปรับเปลี่ยนไปปลูกอ้อยโรงงาน คือ บริเวณที่เป็นพื้นที่ปลูกข้าว (S3+N)
313,817 ไร่ และพื้นที่ปลูกมันสำปะหลัง (S3) 84,785 ไร่ โดยอำเภอที่มีศักยภาพในการขยายการ
ผลิตมันสำปะหลัง (ตารางที่ 8)