Page 19 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดสระแก้ว
P. 19
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
12
ตารางที่ 5 (ต่อ)
เนื้อที่ชั้นความเหมาะสม (ไร่)
อำเภอ ประเภทพื้นที่
S1 S2 S3 N รวม
- - 248,062 7,816 255,878
พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน
(100.00%) (100.00%) (100.00%)
วังสมบูรณ์ พื้นที่เพาะปลูกในชั้นความ - - 80,209 67 80,276
เหมาะสมต่าง ๆ (ปลูกจริง) (32.33%) (0.86%) (31.37%)
พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ - - - - -
47,014 258,412 176,132 95,631 577,189
พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน
(100.00%) (100.00%) (100.00%) (100.00%) (100.00%)
พื้นที่เพาะปลูกในชั้นความ 8,325 54,862 30,885 20 94,092
วัฒนานคร
เหมาะสมต่าง ๆ (ปลูกจริง) (17.71%) (21.23%) (17.54%) (0.02%) (16.3%)
38,689 203,550 - - 242,239
พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ
(82.29%) (78.77%) (41.97%)
110,265 107,442 61,085 135,728 414,520
พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน
(100.00%) (100.00%) (100.00%) (100.00%) (100.00%)
พื้นที่เพาะปลูกในชั้นความ 5,374 13,018 12,717 6 31,115
อรัญประเทศ
เหมาะสมต่าง ๆ (ปลูกจริง) (4.87%) (12.12%) (20.82%) - (7.51%)
104,891 94,424 - - 199,315
พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ
(95.13%) (87.88%) (48.08%)
314,454 895,431 1,257,913 624,155 3,091,953
พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน
(100.00%) (100.00%) (100.00%) (100.00%) (100.00%)
พื้นที่เพาะปลูกในชั้นความ 35,836 181,526 317,460 173 534,995
รวมทั้งจังหวัด
เหมาะสมต่าง ๆ (ปลูกจริง) (11.40%) (20.27%) (25.24%) (0.03%) (17.30%)
278,618 713,905 - - 992,523
พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ
(88.60%) (79.73%) (32.1%)
ทั้งนี้ ในการส่งเสริมการปลูกพืชจะพิจารณาเฉพาะพื้นที่ที่มีศักยภาพคงเหลือในระดับความ
เหมาะสมสูง (S1) และระดับความเหมาะสมปานกลาง (S2) เท่านั้น เนื่องจากสภาพพื้นที่ปลูกพืชตรงตาม
ศักยภาพของดิน การลงทุนต่ำก็สามารถเพิ่มผลผลิตได้ จึงควรส่งเสริมในพื้นที่ดังกล่าว
เมื่อวิเคราะห์ข้อมูลศักยภาพพื้นที่ร่วมกับพื้นที่ปลูกพืชในปัจจุบัน พบว่า พื้นที่ที่ควรพิจารณา
ส่งเสริมให้มีการปรับเปลี่ยนไปปลูกมันสำปะหลัง คือ บริเวณที่เป็นพื้นที่ปลูกข้าว (S3+N) 302,470 ไร่
และปาล์มน้ำมัน (N) 16,725 ไร่ (ตารางที่ 6)