Page 31 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดตราด
P. 31

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                               24








                       ในแต่ละพื้นที่ ทั้งนี้เกษตรกรสามารถเข้าร่วมโครงการบริหารจัดการพื้นที่เกษตรกรรม (Zoning by Agri-
                       Map) เป็นต้น
                                 4) พื้นที่ที่มีศักยภาพหรือมีความเหมาะสมส าหรับการปลูกปาล์มน้ ามัน แต่ปัจจุบัน

                       เกษตรกรไม่ได้ใช้พื้นที่ปลูก โดยหันมาปลูกพืชชนิดอื่นทดแทน ทั้งนี้หากพืชที่ปลูกเป็นพืชไร่ในอนาคต
                       สามารถกลับมาปลูกปาล์มน้ ามันได้อีก แต่หากเป็นไม้ผล/ไม้ยืนต้น การกลับมาปลูกปาล์มน้ ามัน

                       อาจเป็นเรื่องยาก โดยเฉพาะการปลูกไม้ผล เช่น ทุเรียน ที่ปัจจุบันราคาดี แต่ทั้งนี้ต้องพิจารณาต้นทุน
                       การผลิตและราคาผลผลิตร่วมด้วย

                            4.4  มังคุด

                                 พื้นที่ปลูกมังคุดในพื้นที่ไม่มีความเหมาะสม (S3 และ N) และปัจจุบันยังปลูกมังคุดอยู่
                       พื้นที่ดังกล่าวประสบปัญหาซ้ าซาก เช่น น้ าท่วม ขาดน้ า ผลผลิตต่ า กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

                       ให้การช่วยเหลือเกษตรกรที่ท ากินในพื้นที่นี้โดยสนับสนุนการปรับโครงสร้างที่ดิน ปรับปรุงบ ารุงดิน
                       สนับสนุนแหล่งน้ า หาแหล่งเงินทุนประชาสัมพันธ์ ให้ความรู้แนวทางการบริหารจัดการให้แก่เกษตรกร

                       ในกรณีที่มังคุดถึงอายุต้องโค่นทิ้ง ทั้งนี้เกษตรกรสามารถเลือกปลูกพืชชนิดใหม่ที่มีความเหมาะสมและ
                       ให้ผลตอบแทนที่ดีกว่า หรือใช้พื้นที่ผลิตอาหารเพื่อบริโภคในครัวเรือน หรือเข้าโครงการบริหารจัดการ
                       พื้นที่เกษตรกรรม (Zoning by Agri-Map) เป็นต้น
   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36