Page 30 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดตราด
P. 30

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                               23








                            4.2  เงาะ
                                 พื้นที่ปลูกเงาะในพื้นที่ไม่มีความเหมาะสม (S3 และ N) และปัจจุบันยังปลูกเงาะอยู่
                       พื้นที่ดังกล่าวประสบปัญหาซ้ าซาก เช่น น้ าท่วม ขาดน้ า ผลผลิตต่ า กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ให้การ

                       ช่วยเหลือเกษตรกรที่ท ากินในพื้นที่นี้โดยสนับสนุนการปรับโครงสร้างที่ดิน ปรับปรุงบ ารุงดิน สนับสนุน
                       แหล่งน้ า หาแหล่งเงินทุนประชาสัมพันธ์ ให้ความรู้แนวทางการบริหารจัดการให้แก่เกษตรกร ในกรณี

                       เงาะถึงอายุต้องโค่นทิ้ง ทั้งนี้เกษตรกรสามารถเลือกปลูกพืชชนิดใหม่ที่มีความเหมาะสมและให้ผลตอบแทน
                       ที่ดีกว่า หรือใช้พื้นที่ผลิตอาหารเพื่อบริโภคในครัวเรือน หรือเข้าร่วมโครงการบริหารจัดการพื้นที่

                       เกษตรกรรม (Zoning by Agri-Map) เป็นต้น

                            4.3  ปาล์มน้ ามัน
                                 1) พื้นที่ปลูกปาล์มน้ ามันที่มีความเหมาะสมสูง (S1) และปัจจุบันยังปลูกปาล์มน้ ามัน

                       อยู่ มีเนื้อที่ 19,675 ไร่ มีพื้นที่ปลูกมากในเขตอ าเภอบ่อไร่ อ าเภอเขาสมิง และอ าเภอเมืองตราด
                       ตามล าดับ โดยคณะอนุกรรมการพัฒนาที่ดินจังหวัดสมควรให้มีการเสนอแผนการใช้ที่ดินเพื่อสงวน

                       ให้เป็นพื้นที่ปลูกปาล์มน้ ามันที่ส าคัญของจังหวัด และมีการบริหารจัดการน้ าอย่างดี รวมทั้งการจัดการ
                       ดินและปุ๋ยตามมาตรฐาน ส่งเสริมให้มีการใช้ปุ๋ยให้เหมาะสมกับสภาพพื้นที่ ใช้พันธุ์ปาล์มน้ ามันที่ได้รับ
                       การรับรอง สนับสนุนการรวมกลุ่มเป็นเกษตรแปลงใหญ่ สร้างเครือข่ายในรูปแบบของสหกรณ์/

                       กลุ่มเกษตรกร/วิสาหกิจชุมชน/ลานเท กับโรงงานสกัดน้ ามัน ส่งเสริมให้ความรู้เรื่องการตัดปาล์ม
                       น้ ามันที่ได้คุณภาพเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและพัฒนาให้เกษตรกรเพาะปลูกตามการปฏิบัติทาง

                       การเกษตรที่ดี (Good Agricultural Practices: GAP)
                                 2) พื้นที่ปลูกปาล์มน้ ามันที่มีความเหมาะสมปานกลาง (S2) และปัจจุบันยังปลูกปาล์ม

                       น้ ามันอยู่มีเนื้อที่ 16,918  ไร่ ส่วนใหญ่อยู่ในเขตอ าเภอเมืองตราด อ าเภอบ่อไร่ และอ าเภอเขาสมิง
                       เป็นต้น ควรสนับสนุนด้านการบริหารจัดการน้ า เช่น ชลประทาน แหล่งน้ าในไร่นานอกเขต

                       ชลประทาน ใช้ปัจจัยการผลิตในอัตราและช่วงเวลาที่เหมาะสม สนับสนุนพันธุ์ปาล์มน้ ามันที่ได้รับ
                       การรับรอง จะสร้างความมั่นใจให้กับเกษตรกรผู้ปลูกปาล์มน้ ามัน พื้นที่ในเขตนี้มีความเหมาะสม
                       ส าหรับการเกษตรแบบผสมผสานโดยเฉพาะในช่วงที่ปาล์มน้ ามันอายุน้อยยังไม่ให้ผลผลิตหรือเกษตร

                       ทฤษฎีใหม่ เป็นต้น และภาครัฐควรให้ความรู้ความเข้าใจกับเกษตรกรโดยแนะน าว่าไม่ควรปรับเปลี่ยน
                       ไปปลูกพืชชนิดอื่น หรือถ้าต้องการเปลี่ยนชนิดพืชควรเป็นพืชที่มีผลตอบแทนดีกว่า

                                 3) พื้นที่ปลูกปาล์มน้ ามันในพื้นที่ไม่มีความเหมาะสม (S3 และ N) และปัจจุบัน
                       เกษตรกรยังคงใช้ที่ดินปลูกปาล์มน้ ามันอยู่ พื้นที่ดังกล่าวประสบปัญหาซ้ าซาก เช่น น้ าท่วม ขาดน้ า

                       ผลผลิตต่ า กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ให้การช่วยเหลือเกษตรกรที่ท ากินในพื้นที่นี้ โดยสนับสนุน
                       การปรับโครงสร้างที่ดิน ปรับปรุงบ ารุงดินสนับสนุนแหล่งน้ า ให้เกษตรกรเลือกปลูกพืชชนิดใหม่

                       ที่มีความเหมาะสม และปาล์มน้ ามันเป็นพืชยืนต้นอายุประมาณ 20-25 ปี การปรับเปลี่ยนไปปลูกพืช
                       ชนิดอื่นจึงเป็นเรื่องยากในกรณีที่ปาล์มน้ ามันหมดอายุ ลงทุนน้อยกว่าและให้ผลตอบแทนที่ดี ส่งเสริม
                       สินค้าเกษตรชนิดอื่น ๆ ที่สามารถปลูก/เลี้ยง หรืออยู่ร่วมกันได้ในสวนปาล์มน้ ามัน ตามความเหมาะสม
   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35