Page 23 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดตราด
P. 23

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                               16








                       ตารางที่ 7 พื้นที่ศักยภาพในการขยายการผลิตปาล์มน้ ามัน

                                         เงาะ (ไร่)              มังคุด (ไร่)            ทุเรียน (ไร่)
                         อ าเภอ
                                    S3      N      รวม      S3      N      รวม      S3      N       รวม

                        เมืองตราด   11,978   846  12,824   11,313  1,190   12,503   9,265   834    10,099

                        เขาสมิง    19,923  3,057  22,980  13,136   1,322   14,458   12,093  1,867   13,960

                        บ่อไร่      3,208  1,567   4,775    2,679   1,164     3,843    927   350    1,277

                        แหลมงอบ      745      2     747       668       22       690    833   6       839
                        คลองใหญ่      86      -      86      344       -       344    546    11       557

                        รวม       35,940  5,472  41,412  28,140  3,698  31,838  23,664  3,068      26,732

                                 ทั้งนี้ ในการส่งเสริมการปลูกพืชจะพิจารณาเฉพาะพื้นที่ที่มีศักยภาพคงเหลือในระดับ

                       ความเหมาะสมสูง (S1) และระดับความเหมาะสมปานกลาง (S2) เท่านั้น เนื่องจากสภาพพื้นที่ปลูก
                       พืชตรงตามศักยภาพของดิน ลงทุนต่ าก็สามารถเพิ่มผลผลิตได้ จึงควรส่งเสริมในพื้นที่ดังกล่าว

                                 เมื่อวิเคราะห์ข้อมูลศักยภาพพื้นที่ร่วมกับพื้นที่ปลูกพืชในปัจจุบัน พบว่า พื้นที่ที่ควร
                       พิจารณาให้มีการปรับเปลี่ยนไปปลูกปาล์มน้ ามันคือ บริเวณที่เป็นพื้นที่ปลูกเงาะ (S3+N) 41,412 ไร่
                       พื้นที่ปลูกมังคุด (S3+N) 31,838 ไร่ และพื้นที่ปลูกทุเรียน (S3+N) 26,732 ไร่ (ตารางที่ 7)

                               4) แนวทางการจัดการ
                                  (1) พื้นที่ที่มีความเหมาะสมควรส่งเสริมการผลิต (S1 หรือ S2) ควรสนับสนุนให้

                       เกษตรกรปลูกปาล์มน้ ามันต่อไปเนื่องจากเป็นพื้นที่ที่เหมาะสม สามารถช่วยลดต้นทุนการผลิตและ
                       ได้ผลผลิตที่มีคุณภาพดี ซึ่งการปลูกปาล์มน้ ามันในพื้นที่ดังกล่าวข้างต้นสามารถน าไปสู่การต่อยอด

                       โครงการที่ส าคัญต่าง ๆ ได้ เช่น ระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ เกษตรแม่นย า เป็นต้น
                                  พื้นที่ปลูกปาล์มน้ ามันในบริเวณที่มีความเหมาะสมสูง (S1) คือพื้นที่ปลูกปาล์มน้ ามัน

                       ในที่ดินที่ไม่มีข้อจ ากัดทางกายภาพต่อการปลูกปาล์มน้ ามัน ซึ่งควรสงวนไว้เป็นแหล่งปลูกปาล์มน้ ามัน
                       ที่ส าคัญของจังหวัด โดยกระจายอยู่มากในอ าเภอบ่อไร่ อ าเภอเขาสมิง และอ าเภอเมืองตราด เป็นต้น
                                  พื้นที่ปลูกปาล์มน้ ามันในบริเวณที่มีความเหมาะสมปานกลาง (S2) คือพื้นที่ปลูก

                       ปาล์มน้ ามันในที่ดินที่มีข้อจ ากัดทางกายภาพบางประการต่อการปลูกปาล์มน้ ามัน เช่น ความอุดม
                       สมบูรณ์ของดิน ความเป็นกรดเป็นด่าง และแหล่งน้ า โดยกระจายอยู่ในอ าเภอเมืองตราด อ าเภอบ่อไร่

                       และ อ าเภอเขาสมิง เป็นต้น
                                  (2) พื้นที่ที่ควรปรับเปลี่ยนการผลิตในพื้นที่ไม่เหมาะสม (S3 หรือ N) ควรสนับสนุนให้

                       เข้าโครงการบริหารจัดการพื้นที่เกษตรกรรม เช่น ท าการเกษตรผสมผสานหรือพืชที่ให้ผลตอบแทน
                       สูงกว่า โดยพิจารณาแหล่งรับซื้อร่วมด้วย
   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28