Page 19 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดตราด
P. 19

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                               12








                       ตารางที่ 5 (ต่อ)

                                                                        เนื้อที่ชั้นความเหมาะสม (ไร่)
                         อ าเภอ         ประเภทพื้นที่
                                                             S1       S2        S3         N         รวม
                                                                -         -     64,369     30,318    94,687
                                  พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน
                                                                              (100.00%)   (100.00%)   (100.00%)

                                  พื้นที่เพาะปลูกในชั้นความ                      1,521        35      1,556
                        แหลมงอบ                                 -         -
                                  เหมาะสมต่าง ๆ (ปลูกจริง)                      (2.36%)   (0.12%)    1.64%)

                                  พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ       -         -         -          -         -



                                  พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน       -         -         -          -         -


                                  พื้นที่เพาะปลูกในชั้นความ
                         เกาะช้าง                               -         -         -          -         -
                                  เหมาะสมต่าง ๆ (ปลูกจริง)


                                  พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ       -         -         -          -         -

                                                                               761,404   479,271   1,240,675
                                  พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน       -         -
                                                                             (100.00%)  (100.00%)  (100.00%)
                         รวมทั้ง  พื้นที่เพาะปลูกในชั้นความ                     91,193     7,442     98,635
                         จังหวัด   เหมาะสมต่าง ๆ (ปลูกจริง)     -         -   (11.98%)   (1.55%)    (7.95%)


                                  พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ       -         -         -          -         -

                       หมายเหตุ: n.s. คือ มีจ านวนน้อยมากไม่มีความส าคัญทางสถิติ

                            2.3  ปาล์มน้ ามัน

                                 ปาล์มน้ ามันพืชเศรษฐกิจหลักของจังหวัดตราดในล าดับที่ 3 จากฐานข้อมูลใน
                       แผนที่เกษตรเชิงรุก หรือ Agri-Map Online สามารถวิเคราะห์ข้อมูลได้ดังนี้ (ตารางที่ 6 และ
                       ภาพที่ 10 - 11)
                                1)  การวิเคราะห์ศักยภาพของพื้นที่ปลูกปาล์มน้ ามัน
                                     ระดับที่ 1 เป็นพื้นที่เหมาะสมสูง (S1) มีเนื้อที่ 140,759 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 11.32

                       ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายตัวมากอยู่ในอ าเภอเขาสมิง 69,183 ไร่ อ าเภอเมืองตราด
                       41,243 ไร่ และอ าเภอบ่อไร่ 22,496 ไร่
                                     ระดับที่ 2 เป็นพื้นที่เหมาะสมปานกลาง (S2) มีเนื้อที่ 207,980 ไร่ คิดเป็นร้อยละ

                       16.73 ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายตัวมากอยู่ในอ าเภอเมืองตราด 98,736 ไร่ อ าเภอเขาสมิง
                       67,744 ไร่ และอ าเภอบ่อไร่ 25,729 ไร่
   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24