Page 16 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดตราด
P. 16

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                9








                       ตารางที่ 4 พื้นที่ศักยภาพในการขยายการผลิตยางพารา

                                        เงาะ (ไร่)               มังคุด (ไร่)             ทุเรียน (ไร่)
                        อ าเภอ
                                   S3      N      รวม      S3       N      รวม      S3       N      รวม

                       เมืองตราด   12,562     -  12,562   12,015      1  12,016     9,922      -     9,922
                       เขาสมิง    20,247      -  20,247   13,625      -  13,625  12,425        -    12,425

                       บ่อไร่      3,996      -   3,996    3,417      -    3,417    1,169      -     1,169

                       แหลมงอบ       842      -     842        -      -        -      987      -       987

                       คลองใหญ่        -      -       -        -      -        -      196      -       196
                       รวม        37,647      -  37,647  29,057       1  29,058  24,699        -    24,699


                                 ทั้งนี้ ในการส่งเสริมการปลูกพืชจะพิจารณาเฉพาะพื้นที่ที่มีศักยภาพคงเหลือในระดับ
                       ความเหมาะสมสูง (S1) และระดับความเหมาะสมปานกลาง (S2) เท่านั้น เนื่องจากสภาพพื้นที่

                       ปลูกพืชตรงตามศักยภาพของดิน ลงทุนต่ าก็สามารถเพิ่มผลผลิตได้ จึงควรส่งเสริมในพื้นที่ดังกล่าว
                                 เมื่อวิเคราะห์ข้อมูลศักยภาพพื้นที่ร่วมกับพื้นที่ปลูกพืชในปัจจุบัน พบว่าพื้นที่ที่ควร

                       พิจารณาให้มีการปรับเปลี่ยนไปปลูกยางพารา คือ บริเวณที่เป็นพื้นที่ปลูกเงาะ (S3) 37,647 ไร่ พื้นที่
                       ปลูกมังคุด (S3+N) 29,058 ไร่ และพื้นที่ปลูกทุเรียน (S3) 24,699 (ตารางที่ 4)
                                 4)  แนวทางการจัดการ

                                    (1) พื้นที่ที่มีความเหมาะสมควรส่งเสริมการผลิต (S1 หรือ S2) ควรสนับสนุนให้
                       เกษตรกรปลูกยางพาราต่อไปเนื่องจากเป็นพื้นที่ที่เหมาะสม สามารถช่วยลดต้นทุนการผลิตและ

                       ได้ผลผลิตที่มีคุณภาพดี ซึ่งการปลูกยางพาราในพื้นที่ดังกล่าวข้างต้นสามารถน าไปสู่การต่อยอด
                       โครงการที่ส าคัญต่าง ๆ ได้ เช่น ระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ เกษตรแม่นย า เป็นต้น พื้นที่
                       ปลูกยางพาราในบริเวณที่มีความเหมาะสมสูง (S1) คือพื้นที่ปลูกยางพาราในที่ดินที่ไม่มีข้อจ ากัด

                       ทางกายภาพต่อการปลูกยางพารา ซึ่งควรสงวนไว้เป็นแหล่งปลูกยางพาราที่ส าคัญของจังหวัด โดย
                       กระจายอยู่มากในอ าเภอเมืองตราด อ าเภอเขาสมิง และบ่อไร่ เป็นต้น

                                    พื้นที่ปลูกยางพาราในบริเวณที่มีความเหมาะสมปานกลาง (S2) คือพื้นที่ปลูกยางพารา
                       ในที่ดินที่มีข้อจ ากัดทางกายภาพบางประการต่อการปลูกยางพารา เช่น ความอุดมสมบูรณ์ของดิน

                       ความเป็นกรดเป็นด่าง และแหล่งน้ า โดยกระจายตัวมากอยู่ในอ าเภอเมืองตราด อ าเภอเขาสมิง และอ าเภอ
                       บ่อไร่ เป็นต้น

                                    (2) พื้นที่ที่ควรปรับเปลี่ยนการผลิตในพื้นที่ไม่เหมาะสม (S3 หรือ N) ควรสนับสนุน
                       ให้เข้าโครงการบริหารจัดการพื้นที่เกษตรกรรม เช่น เปลี่ยนชนิดพืชที่มีความเหมาะสมกว่าการปลูก
                       ยางพารา มีต้นทุนที่ต่ า และให้ผลตอบแทนที่ดีกว่า เป็นต้น แต่ทั้งนี้ต้องพิจารณาแหล่งรับซื้อร่วมด้วย
   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21