Page 18 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดชลบุรี
P. 18

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                               11








                             4) แนวทางการจัดการ
                               (1) พื้นที่ที่มีความเหมาะสมควรส่งเสริมการผลิต (S1 หรือ S2) ควรสนับสนุนให้เกษตรกร

                       ปลูกยางพาราต่อไปเนื่องจากเป็นพื้นที่ที่เหมาะสม สามารถช่วยลดต้นทุนการผลิตและได้ผลผลิต
                       ที่มีคุณภาพดี ซึ่งการปลูกยางพาราในพื้นที่ดังกล่าวข้างต้นสามารถน าไปสู่การต่อยอดโครงการที่ส าคัญ

                       ต่าง ๆ ได้ เช่น ระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ เกษตรแม่นย า เป็นต้น

                                 พื้นที่ปลูกยางพาราในบริเวณที่มีความเหมาะสมสูง (S1) คือพื้นที่ปลูกยางพารา
                       ในที่ดินที่ไม่มีข้อจ ากัดทางกายภาพต่อการปลูกยางพารา ซึ่งควรสงวนไว้เป็นแหล่งปลูกยางพารา

                       ที่ส าคัญของจังหวัด โดยกระจายอยู่ในอ าเภอบ่อทองและอ าเภอหนองใหญ่
                                 พื้นที่ปลูกยางพาราในบริเวณที่มีความเหมาะสมปานกลาง (S2) คือพื้นที่ปลูก

                       ยางพาราในที่ดินที่มีข้อจ ากัดทางกายภาพบางประการต่อการปลูกยางพารา เช่น ความอุดมสมบูรณ์

                       ของดิน ความเป็นกรดเป็นด่าง และแหล่งน้ า โดยกระจายอยู่ในอ าเภอบ่อทอง อ าเภอหนองใหญ่
                       อ าเภอเกาะจันทร์ เป็นต้น

                               (2) พื้นที่ที่ควรปรับเปลี่ยนการผลิตในพื้นที่ไม่เหมาะสม (S3 หรือ N) ควรสนับสนุน

                       ให้เข้าโครงการปรับเปลี่ยนการผลิต เช่น เปลี่ยนชนิดพืชที่มีความเหมาะสมกว่าการปลูกยางพารา
                       มีต้นทุนที่ต่ า ให้ผลตอบแทนที่ดีกว่า เป็นต้น แต่ทั้งนี้ต้องพิจารณาแหล่งรับซื้อร่วมด้วย


                         2.2  มันส าปะหลัง
                             มันส าปะหลังเป็นพืชเศรษฐกิจหลักของจังหวัดชลบุรีในล าดับที่ 2 จากฐานข้อมูลในแผนที่

                       เกษตรเชิงรุก หรือ Agri-Map Online วิเคราะห์ข้อมูลได้ดังนี้ (ตารางที่ 5 และภาพที่ 8 - 9)

                             1) การวิเคราะห์ศักยภาพของพื นที่ปลูกมันส าปะหลัง

                               ระดับที่ 1 เป็นพื้นที่ความเหมาะสมสูง (S1) มีเนื้อที่ 269,418 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 10.63
                       ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน พบมากในอ าเภอบางละมุง 53,872 ไร่ อ าเภอหนองใหญ่ 51,972 ไร่ และ

                       อ าเภอศรีราชา 45,860 ไร่

                               ระดับที่ 2 เป็นพื้นที่ความเหมาะสมปานกลาง (S2) มีเนื้อที่ 930,100 ไร่ คิดเป็นร้อยละ
                       36.72 ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน พบมากในอ าเภอบางละมุง 167,057 ไร่ อ าเภอศรีราชา 166,759 ไร่

                       และอ าเภอบ้านบึง 136,472 ไร่
                               ระดับที่ 3 เป็นพื้นที่ความเหมาะสมเล็กน้อย (S3) มีเนื้อที่ 366,006 ไร่ คิดเป็นร้อยละ

                       14.45 ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน พบมากในอ าเภอบ่อทอง 192,010 ไร่ อ าเภอหนองใหญ่ 54,737 ไร่

                       และอ าเภอเกาะจันทร์ 49,736 ไร่
                               ระดับที่ 4 เป็นพื้นที่ไม่เหมาะสม (N) มีเนื้อที่ 967,757 ไร่
   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23