Page 22 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดชลบุรี
P. 22
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
15
ตารางที่ 5 (ต่อ)
ระดับความเหมาะสม
อ าเภอ ประเภทพื นที่
S1 S2 S3 N รวม
227 56,643 19,888 101,188 177,946
พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน
(100.00%) (100.00%) (100.00%) (100.00%) (100.00%)
พื้นที่เพาะปลูกในชั้นความ 59 12,330 4,672 434 17,495
สัตหีบ
เหมาะสมต่าง ๆ (ปลูกจริง) (25.99%) (21.77%) (23.49%) (0.43%) (9.83%)
168 44,313 44,481
พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ - -
(74.01%) (78.23%) (25.00%)
51,972 112,158 54,737 33,762 252,629
พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน
(100.00%) (100.00%) (100.00%) (100.00%) (100.00%)
พื้นที่เพาะปลูกในชั้นความ 5,337 7,738 3,273 14 16,362
หนองใหญ่
เหมาะสมต่าง ๆ (ปลูกจริง) (10.27%) (6.90%) (5.98%) (0.04%) (6.48%)
46,635 104,420 151,055
พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ - -
(89.73%) (93.10%) (59.79%)
269,418 930,100 366,006 967,757 2,533,281
พื นที่ศักยภาพของที่ดิน
(100.00%) (100.00%) (100.00%) (100.00%) (100.00%)
พื นที่เพาะปลูกในชั นความ 48,346 169,287 38,402 1,163 257,198
รวมทั งจังหวัด
เหมาะสมต่าง ๆ (ปลูกจริง) (17.94%) (18.20%) (10.49%) (0.12%) (10.15%)
221,072 760,813 981,885
พื นที่มีศักยภาพคงเหลือ - -
(82.06%) (81.80%) (38.76%)
ทั้งนี้ ในการส่งเสริมการปลูกพืชจะพิจารณาเฉพาะพื้นที่ที่มีศักยภาพคงเหลือในระดับ
ความเหมาะสมสูง (S1) และระดับความเหมาะสมปานกลาง (S2) เท่านั้น เนื่องจากสภาพพื้นที่ปลูกพืช
ตรงตามศักยภาพของดิน การลงทุนต่ าก็สามารถเพิ่มผลผลิตได้ จึงควรส่งเสริมในพื้นที่ดังกล่าว
เมื่อวิเคราะห์ข้อมูลศักยภาพพื้นที่ร่วมกับพื้นที่ปลูกพืชในปัจจุบัน พบว่า พื้นที่ที่ควร
พิจารณาให้มีการปรับเปลี่ยนไปปลูกมันส าปะหลัง คือ บริเวณที่เป็นพื้นที่ปลูกปาล์มน้ ามัน (N) 74,633 ไร่
พื้นที่ปลูกอ้อยโรงงาน (S3) 30,250 ไร่ และพื้นที่ปลูกข้าว (S3+N) 13,870 ไร่ (ตารางที่ 6)