Page 29 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดอ่างทอง
P. 29

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                               22








                         4.2  อ้อยโรงงาน
                               1) พื้นที่ปลูกอ้อยโรงงานที่มีความเหมาะสมสูง (S1) และปัจจุบันยังปลูกอ้อยโรงงานอยู่
                       มีเนื้อที่  450  ไร  พบอยูในอําเภอแสวงหา  และอําเภอโพธิ์ทอง  ทั้งนี้ตามแผนยุทธศาสตรสํานักงาน

                       คณะกรรมการออยและนํ้าตาลทราย  พ.ศ.  2560  -  2564  มียุทธศาสตรสงเสริมสนับสนุนการวิจัย
                       การบริหารจัดการ และการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตอุตสาหกรรมออยและนํ้าตาลทราย เนนใหมีการ

                       เพิ่มผลผลิตออยโรงงานในพื้นที่ที่มีศักยภาพสูง   แตเนนลดตนทุนการผลิต   สงเสริมใหเกษตรกรใช
                       ปุยอินทรียคุณภาพสูง  มีการเก็บเกี่ยวผลผลิตโดยการรณรงคลดการเผาตอซัง  เพื่อเพิ่มผลผลิตและลด
                       ปญหาภาวะโลกรอน     หนวยงานที่เกี่ยวของคิดคนเทคโนโลยีการการเก็บเกี่ยว   โดยใชเครื่องจักร

                       ลดปญหาแรงงาน  สงเสริมใหเกษตรกรรวมกลุม  และเขารวมโครงการเกษตรแปลงใหญ  จัดหาปจจัย
                       การผลิตใหกับเกษตรกร และอบรมใหความรูเกษตรกรที่มีการปรับปรุงบํารุงดิน โดยลดตนทุนการผลิต

                       สงเสริมใหมีการปลูกออยโรงงานพันธุตานทานโรค  และสรางความตระหนัก  ความรู  ความเขาใจใหกับ
                       เกษตรกรที่มีพื้นที่ที่มีความเหมาะสมสูงในการปลูกออยโรงงาน เพื่อแกปญหาการปรับเปลี่ยนพื้นที่


                               2) พื้นที่ปลูกอ้อยโรงงานที่มีความเหมาะสมปานกลาง (S2) และปัจจุบันยังปลูก
                       อ้อยโรงงานอยู่ พบอยู่ในอ าเภอแสวงหา มีเนื้อที่ 325  ไร่ ซึ่งการปลูกอ้อยโรงงานในพื้นที่ดังกล่าว

                       ควรได้รับการพัฒนาศักยภาพของพื้นที่ให้มากขึ้น ในเรื่องของคุณภาพดินและการบริหารจัดการน้ า
                       ให้มีเพียงพอและเหมาะสมต่อการเพาะปลูก สร้างความรู้ความเข้าใจให้กับเกษตรกรในการจัดการ

                       พื้นที่ การปลูก การดูแลรักษา และการเก็บเกี่ยว ส่งเสริมการเพิ่มมูลค่าของเสียจากโรงงานน้ าตาล
                       และการน าของเสียจากโรงงานน้ าตาลไปใช้ในการปรับปรุงบ ารุงดินในไร่อ้อย เพื่อเพิ่มผลผลิตและ

                       ลดต้นทุนให้แก่เกษตรกรชาวไร่อ้อย โดยไม่มีผลเสียต่อสุขภาพ สิ่งแวดล้อม และชุมชนชาวไร่อ้อย

                               3) พื้นที่ปลูกอ้อยโรงงานในพื้นที่เหมาะสมเล็กน้อย (S3) และปัจจุบันเกษตรกรยังคง

                       ใช้ที่ดินปลูกอ้อยโรงงานอยู่ มีเนื้อที่ 13,766  ไร่ พบอยู่ในอ าเภอแสวงหา อ าเภอโพธิ์ทอง อ าเภอสามโก้
                       อ าเภอไชโย และอ าเภอป่าโมก พื้นที่ดังกล่าวประสบปัญหาซ้ าซาก เช่น น้ าท่วม ขาดน้ า ผลผลิตต่ า

                       ควรให้เกษตรกรเลือกปลูกพืชชนิดใหม่ที่ให้ผลตอบแทนที่ดีกว่า หรือใช้พื้นที่ผลิตพืชผักบริโภคใน
                       ครัวเรือน หรือเข้าร่วมโครงการปรับเปลี่ยนการผลิต (Zoning by Agri-Map) เป็นต้น และจัดหาตลาด
                       ให้กับเกษตรกรในการปลูกพืชผักทดแทน โดยอาจเริ่มจากตลาดชุมชน

                               4) พื้นที่ที่มีศักยภาพหรือมีความเหมาะสมส าหรับการปลูกอ้อยโรงงานแต่เกษตรกรหันมา

                       ปลูกพืชอื่นทดแทน เช่น ข้าว มะพร้าว ควรสร้างความเข้าใจให้กับเกษตรกรในการบริหารจัดการพื้นที่
                       และการปรับปรุงบ ารุงดินไม่ให้เสื่อมโทรม หากเกษตรกรต้องการกลับมาใช้พื้นที่ปลูกอ้อยโรงงาน

                       เหมือนเดิม จะได้ไม่ต้องมีต้นทุนการผลิตสูงในการปรับปรุงบ ารุงดิน
   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34