Page 28 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดอ่างทอง
P. 28

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                               21








                               2) บัวบก มีชื่อเรียกในภาษาท้องถิ่นไทย ภาคเหนือและภาคอีสาน เรียก ผักหนอก ภาคใต้
                       เรียก ผักแว่น เป็นพืชล้มลุก อายุยืนหลายปี ลักษณะต้น หรือเถาเลื้อยตามผิวดิน มีข้อปล้อง ออกราก
                       ใบ ดอก ผล เมล็ด ตามข้อ ใช้เป็นอาหาร เป็นผัก และเป็นยาสมุนไพร เป็นพืชเขตร้อน ชอบที่ลุ่มชื้นแฉะ
                       เล็กน้อย เช่น ตามขอบคันนา คันดินริมหนอง สระ คลองน้ า ชอบแสง ร าไร โดยพบว่าจังหวัดอ่างทอง

                       มีพื้นที่ศักยภาพเหมาะสมสูงส าหรับปลูกบัวบก (S1) 227  ไร่ พบอยู่ในอ าเภอแสวงหาและเหมาะสม
                       ปานกลาง (S2) มีเนื้อที่ 32,650 ไร่ กระจายตัวอยู่ในอ าเภอต่าง ๆ เลียบเส้นทางแม่น้ า พบมากที่สุด
                       ในอ าเภอโพธิ์ทอง  9,741 ไร่ รองลงมาอ าเภอเมืองอ่างทอง  6,392  ไร่ และอ าเภอไชโย  5,550 ไร่
                       ตามล าดับ

                       4  แนวทางการส่งเสริมการปลูกพืชเศรษฐกิจ


                         4.1  ข้าว
                               1) พื้นที่ปลูกข้าวที่มีความเหมาะสมสูง (S1) และปัจจุบันยังปลูกข้าวอยู่ มีเนื้อที่
                       356,940 ไร พบกระจายอยูทุกอําเภอ โดยพบมากในอําเภอวิเศษชัยชาญ อําเภอโพธิทอง และอําเภอ

                       แสวงหา  เปนตน  พื้นที่ทั้ง  7  อําเภอของจังหวัดอางทองตั้งอยูในเขตชลประทาน  ดังนั้นคณะ
                       อนุกรรมการพัฒนาที่ดินจังหวัดสมควรใหมีการเสนอแผนการใชที่ดินเพื่อสงวนใหเปนแหลงผลิตขาวที่

                       สําคัญของจังหวัด  และมีการบริหารจัดการนํ้าชลประทาน  การจัดการดิน  ปุย  พันธุขาว  มีการรวม
                       กลุมเพื่อเขาโครงการระบบสงเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ พัฒนาตอยอดครบวงจรดานการตลาดใน

                       และตางประเทศ  สาหรับการแปรรูป  แหลงทุน  มีภาครัฐสนับสนุนการทามาตรฐานสินคาเกษตร
                       อินทรีย  และมาตรฐาน  GAP  เนื่องจากเปนพื้นที่ศักยภาพสูง  การปลูกพืชหลังนาจะชวยใหเกษตรกร

                       มีรายไดเพิ่มขึ้น และเปนการปรับปรุงบํารุงดิน ทั้งนี้ภาครัฐควรใหความรูความเขาใจกับเกษตรกร โดย
                       แนะนาวาพื้นที่นี้เปนพื้นที่ที่มีความเหมาะสมตอการปลูกขาว   จึงไมควรปรับเปลี่ยนไปปลูกพืชชนิด
                       อื่น หากขาวราคาไมดีถาตองการเปลี่ยนชนิดพืชควรเปนพืชไร เพื่อที่ในอนาคตจะไดกลับมาทํานาไดอีก



                               2) พื้นที่ที่มีศักยภาพหรือมีความเหมาะสมส าหรับการปลูกข้าว แต่ปัจจุบันเกษตรกรไม่ได้

                       ใช้พื้นที่ปลูกข้าว พบว่า เกษตรกรปลูกพืชอื่นทดแทน เช่น อ้อย ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ และมะพร้าว เป็นต้น
                       ทั้งนี้หากพืชที่ปลูกเป็นพืชไร่ และในอนาคตข้าวราคาดี เกษตรกรอาจกลับมาปลูกข้าวได้เหมือนเดิม
                       แต่หากเป็นไม้ผลหรือไม้ยืนต้น การกลับมาปลูกข้าวอาจเป็นเรื่องยาก ดังนั้นอาจส่งเสริมในเรื่องของ

                       การท าเกษตรรูปแบบอื่น เช่น ท าการเกษตรแบบผสมผสานทดแทน
   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33