Page 26 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดอ่างทอง
P. 26

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                               19








                       3. พืชเศรษฐกิจอนาคตไกลของจังหวัด

                               จังหวัดอางทองเปนเมืองอูขาวอูนํ้าที่สําคัญตอเศรษฐกิจของประเทศ  ขาวจึงเปนพืชเศรษฐกิจที่มี
                       ความส าคัญ  และมีชื่อเสียงของจังหวัดด้วยลักษณะภูมิประเทศเหมาะสมตอการปลูกขาว  และศักยภาพ

                       ของดินสวนใหญมีความเหมาะสมสูง  (S1)  ประกอบกับการท านาข้าวเปนอาชีพหลักของเกษตรกร
                       และเปนวิถีชีวิตที่คุนเคยมานาน  จึงควรสงเสริมการปลูกข้าวโดยการพัฒนาคุณภาพขาวใหมีมาตรฐาน

                       เปนที่ยอมรับในตลาดโลกทั้งคุณคา  และคุณภาพสร้างมูลคาเพิ่มให้แกอุตสาหกรรมข้าวไทย  นอกจาก
                       ข้าวจะเปนพืชเศรษฐกิจที่ส าคัญแล้ว  ไม้ผล  และพืชสวนครัวยังเปนพืชเศรษฐกิจที่สร้างรายได้ใหกับ

                       เกษตรกรชาวจังหวัดอางทอง ไม้ผลและพืชสวนครัวที่ส าคัญ และอนาคตไกล ได้แก่


                         3.1  กระทอนทองใบใหญ่  เปนผลไม้ชนิดหนึ่งที่ขึ้นชื่อของจังหวัดอางทอง  และมีแนวโน้มเปนสินค้า
                       สิ่งบงชี้ทางภูมิศาสตร(Geographical Indications: GI) มีลักษณะเดน คือ รสชาติหวาน เนื้อกระท้อน
                       นุมฟูไมแข็งกระด้าง  และมีขนาดผลใหญเปนพิเศษ  เปนที่ต้องการของท้องตลาดปลูกอยูในพื้นที่ต าบล

                       บางเจ้าฉา  อ าเภอโพธิ์ทอง  เปนอัตลักษณของหมูบ้านบางเจ้าฉา  อําเภอโพธิ์ทอง  เพราะกระท้อน
                       พันธุนี้ไดรับพระราชทานพันธุมาจาก  พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราลงกรณ
                       พระวชิรเกล้าเจ้าอยูหัว  รัชกาลที่  10  เมื่อครั้งด ารงพระยศเปนพระบรมโอสาธิราช  ในปี  2550  เดิมมี
                       ต้นกระท้อนทองใบใหญ  4  ต้น  ปัจจุบันได้ขยายพันธุไปให้ชาวบ้านบางเจ้าฉา  ไดปลูกจนสามารถสร้าง

                       รายได้ให้กับเจ้าของสวนปีละหลายแสนบาท     โดยผลผลิตจะเก็บขายได้ในชวงกลางเดือนมิถุนายนถึง
                       กลางเดือนกรกฎาคม


                         3.2  มะมวงพันธุนํ้าดอกไมและพันธุเขียวเสวย  มะมวงเปนไมผลเศรษฐกิจที่มีศักยภาพในการผลิต
                       และการสงออกสูงของจังหวัด  โดยเฉพาะมะมวงพันธุนํ้าดอกไม  และพันธุเขียวเสวย  ปจจุบันมีการสง

                       ออกไปยังประเทศจีน และญี่ปุน พื้นที่ปลูกมะมวงที่สําคัญอยูในพื้นที่อําเภอสามโก เปนการปลูกมะมวง
                       นอกฤดูที่ยึดถือเกณฑตามมาตรฐานการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี (Good Agricultural Practice: GAP)
                       ดวยการรวมกลุมปลูกแปลงใหญเพื่อสงออกเปนหลักโดยอําเภอสามโกมีแผนพัฒนาการเกษตรป 2560 -

                       2564  ในการพัฒนาแปลงใหญมะมวงอยางยั่งยืน  พื้นที่ปลูกมะมวง  สวนใหญจะเปนการปรับเปลี่ยนมา
                       จากพื้นที่นา โดยปรับเปลี่ยนพื้นที่ด้วยการยกรองเพื่อปลูกมะมวง


                         3.3  กล้วยน้ าว้า เป็นไม้ผลเศรษฐกิจที่สร้างรายได้ให้แก่แก่เกษตรกร พันธุ์ที่นิยมปลูก คือ พันธุ์
                       กล้วยน้ าว้าขาว ซึ่งมีรสชาติอร่อย นิยมน ามาแปรรูป และมีพันธุ์กล้วยน้ าว้าที่ปลูกและน่าสนใจ คือ
                       พันธุ์ทองส าราญ ซึ่งกล้วยน้ าว้าพันธุ์นี้จะมีลักษณะเด่นคือ ให้ผลผลิตสูง ในแต่ละเครือจะมี 15 ถึง 20 หวี

                       แต่ละหวีจะมี 27  ถึง 30  ลูก นับว่าให้ผลผลิตดี และเป็นที่ต้องการของตลาดเป็นอย่างมาก ปัจจุบัน
                       มีการปลูกกล้วยน้ าว้าพันธุ์ทองส าราญในพื้นที่อ าเภอแสวงหา การปลูกกล้วยน้ าจะเป็นการปลูกในสวน
                       หลังบ้าน ซึ่งกล้วยน้ าว้าสามารถให้ผลผลิตได้ 2 สัปดาห์ต่อครั้ง สามารถตัดขายส่งให้กับแม่ค้าในตลาด

                       อ่างทองได้ เป็นการสร้างรายได้ให้เกษตรกร
   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31