Page 18 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดเพชรบุรี
P. 18

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                               11







                           2.2  ออยโรงงาน
                                  ออยโรงงานเปนพืชเศรษฐกิจหลักของเพชรบุรีในลําดับที่ 2 จากฐานขอมูลในแผนที่
                       เกษตรเชิงรุก หรือ Agri-Map Online สามารถวิเคราะหขอมูลไดดังนี้ (ตารางที่ 5 และภาพที่ 8 - 9)

                                    1) การวิเคราะหศักยภาพของพื้นที่ปลูกออยโรงงาน หรือชั้นความเหมาะสมสําหรับ
                       ที่ดิน ในระบบ Agri-Map Online จะพิจารณาจากปจจัยทางดินที่มีผลตอการเจริญเติบโตของพืช โดย
                       ไมคํานึงถึงชนิดพืชที่ปลูกอยูในปจจุบัน พบวาจังหวัดเพชรบุรีมีพื้นที่ที่มีศักยภาพในการปลูกออย

                       โรงงาน ดังนี้
                                      ระดับที่ 1  พื้นที่เหมาะสมสูง (S1) มีเนื้อที่ 100,849  ไร คิดเปนรอยละ 6.88 ของ
                       พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายอยูในอําเภอทายาง 47,818  ไร อําเภอบานลาด 35,655  ไร อําเภอ
                       ชะอํา 9,221 ไร
                                      ระดับที่ 2 พื้นที่เหมาะสมปานกลาง (S2) มีเนื้อที่ 31,844  ไร คิดเปนรอยละ 2.17
                       ของ  พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายอยูในอําเภอชะอํา 22,623  ไร อําเภอบานลาด 6,166 ไร

                       อําเภอแกงกระจาน 1,696 ไร
                                      ระดับที่ 3  พื้นที่เหมาะสมเล็กนอย (S3) มีเนื้อที่ 622,815  ไร คิดเปนรอยละ 42.51
                       ของ พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายอยูในอําเภอทายาง  170,186 ไร อําเภอชะอํา 159,454 ไร
                       อําเภอหนองหญาปลอง 107,321 ไร

                                     ระดับที่ 4 พื้นที่ไมเหมาะสม (N) มีเนื้อที่ 709,798 ไร
                                    2) การวิเคราะหพื้นที่ปลูกออยโรงงานในปจจุบัน จากการวิเคราะหศักยภาพของที่ดิน

                       ตอการปลูกออยโรงงานในแตละระดับความเหมาะสม รวมกับพื้นที่ปลูกออยโรงงานจริงปจจุบัน พบวา
                       จังหวัดเพชรบุรีมีพื้นที่ปลูกออยโรงงานในชั้นความเหมาะสมตาง ๆ ดังตอไปนี้
                                     (1)  พื้นที่เหมาะสมสูง (S1) มีเนื้อที่ 4,964 ไร คิดเปนรอยละ 4.92 ของพื้นที่ศักยภาพ

                       สูง กระจายอยูในอําเภอชะอํา 3,711 ไร อําเภอทายาง 1,246 ไร  และอําเภอเขายอย 3 ไร
                                     (2) พื้นที่เหมาะสมปานกลาง (S2) มีเนื้อที่ 255   ไร คิดเปนรอยละ 0.80 ของ
                       พื้นที่ศักยภาพปานกลาง กระจายอยูในอําเภอชะอํา 230 ไร อําเภอเขายอย 14 ไร และอําเภอบานลาด
                       11 ไร
                                     (3) พื้นที่เหมาะสมเล็กนอย (S3) มีเนื้อที่ 61,127  ไร คิดเปนรอยละ 9.81 ของพื้นที่

                       ศักยภาพเล็กนอย กระจายอยูในอําเภอชะอํา 26,442 ไร อําเภอทายาง 20,730 ไร และอําเภอหนอง
                       หญาปลอง 10,868 ไร
                                     (4) พื้นที่ไมเหมาะสม (N) มีเนื้อที่ 56 ไร


                                    3) พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ คือ พื้นที่ที่มีศักยภาพในการปลูกออยโรงงานแตไมใชพื้นที่ปลูก
                       พิจารณาจากพื้นที่ศักยภาพของที่ดินสําหรับการปลูกออยโรงงาน และพื้นที่ปลูกออยโรงงาน

                       ในชั้นความเหมาะสมตาง ๆ (ปลูกจริง) พบวาจังหวัดเพชรบุรีมีพื้นที่ศักยภาพคงเหลือในระดับความ
                       เหมาะสมสูง (S1) และความเหมาะสมปานกลาง (S2) รวมทั้งสิ้น 127,474 ไร โดยกระจายอยูเกือบทุกอําเภอ
                       โดยอําเภอที่มีพื้นที่ศักยภาพคงเหลือมากที่สุด ไดแก อําเภอทายาง 47,718 ไร อําเภอบานลาด 41,809 ไร

                       และอําเภอชะอํา 27,903 ไร  ตามลําดับ โดยมีรายละเอียดดังนี้
   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23