Page 14 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดเพชรบุรี
P. 14

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                7







                                   ระดับที่  3 เปนพื้นที่ความเหมาะสมเล็กนอย (S3) มีเนื้อที่ 64,255 ไร คิดเปนรอยละ
                       4.39 ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายตัวอยูในอําเภอเขายอย 22,265 ไร อําเภอบานลาด
                       19,140ไร และอําเภอชะอํา 9,102 ไร
                                   ระดับที่ 4 เปนพื้นที่ไมเหมาะสม (N) มีเนื้อที่ 895,104 ไร

                               2) การวิเคราะหพื้นที่ปลูกขาวในปจจุบัน คือพื้นที่ปลูกขาวในปจจุบันจําแนกตามชั้นความ

                       เหมาะสมตาง ๆ โดยจังหวัดเพชรบุรี มีพื้นที่ปลูกขาวในพื้นที่เหมาะสมสูงและเหมาะสมปานกลางเทานั้น
                       โดยมีรายละเอียดดังนี้
                                   (1) พื้นที่เหมาะสมสูง (S1)  มีเนื้อที่ 301,189 ไร คิดเปนรอยละ 78.78 ของพื้นที่
                       ศักยภาพสูง กระจายตัวอยูในอําเภอเมืองเพชรบุรี 107,890 ไร อําเภอบานลาด 52,060 ไร และอําเภอ

                       เขายอย 48,009 ไร
                                   (2) พื้นที่เหมาะสมปานกลาง (S2) มีเนื้อที่ 33,785 ไร คิดเปนรอยละ 28.68 ของพื้นที่
                       ศักยภาพปานกลาง กระจายตัวอยูในอําเภอบานแหลม 10,216 ไร อําเภอ ทายาง 9,162 ไร และ

                       อําเภอเขายอย 4,720 ไร
                                   (3) พื้นที่เหมาะสมเล็กนอย (S3) มีเนื้อที่ 54,184 ไร คิดเปนรอยละ 84.33 ของพื้นที่
                       ศักยภาพเล็กนอย กระจายตัวอยูในอําเภอเขายอย 22,265 ไร อําเภอบานลาด 19,140 ไร และ
                       อําเภอชะอํา 5,881 ไร
                                   (4)  พื้นที่ไมเหมาะสม (N) มีเนื้อที่ 4,064 ไร


                                3) พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ คือ พื้นที่ที่มีศักยภาพในการปลูกขาวแตยังไมใชพื้นที่ปลูก
                       พิจารณาจากพื้นที่ศักยภาพของที่ดินสําหรับการปลูกขาว และพื้นที่ปลูกขาวในชั้นความเหมาะสมตาง ๆ
                       (ปลูกจริง) พบวาจังหวัดเพชรบุรีมีพื้นที่ศักยภาพคงเหลือในระดับความเหมาะสมสูง (S1) และความ
                       เหมาะสมปานกลาง (S2) รวมทั้งสิ้น 170,085 ไร โดยกระจายอยูทั่วทุกอําเภอ โดยอําเภอที่มีพื้นที่
                       ศักยภาพคงเหลือมากที่สุด ไดแก อําเภอชะอํา 41,031 ไร รองลงมาไดแก อําเภอเมืองเพชรบุรี

                       36,477 ไร และอําเภอทายาง 28,845 ไร โดยมีรายละเอียดดังนี้
                                   (1) พื้นที่เหมาะสมสูงคงเหลือ (S1) มีเนื้อที่ 86,059   ไร คิดเปนรอยละ 22.22
                       ของพื้นที่ศักยภาพสูง พบมากในอําเภอเมืองเพชรบุรี 31,084 ไร อําเภอทายาง 16,813 ไร และ

                       อําเภอเขายอย 15,263 ไร
                                   (2) พื้นที่เหมาะสมปานกลางคงเหลือ (S2) มีเนื้อที่ 84,026 ไร คิดเปนรอยละ 71.32
                       ของพื้นที่ศักยภาพปานกลาง พบมากในอําเภอชะอํา 28,156 ไร อําเภอทายาง 12,032 ไร และอําเภอ
                       แกงกระจาน 9,122 ไร

                                   จังหวัดเพชรบุรียังมีพื้นที่มีศักยภาพในการปลูกขาวคงเหลือ ทั้งสิ้น 170,085 ไร กระจาย
                       อยูทั่วทุกอําเภอ โดยอําเภอที่มีพื้นที่ศักยภาพคงเหลือมากที่สุด ไดแก อําเภอชะอํา 41,031 ไร
                       รองลงมาไดแก อําเภอเมืองเพชรบุรี 36,477 ไร อําเภอทายาง 28,845 ไร และอําเภอเขายอย 21,963
                       ไร ตามลําดับ จากพื้นที่ศักยภาพคงเหลือในการปลูกขาว 170,085 ไร ทําการซอนทับกับขอมูลพืช

                       เศรษฐกิจที่ปลูกในปจจุบัน พบวา สวนใหญเปนพื้นที่ปลูกมะพราว 7,815  ไร ออยโรงงาน 1,745 ไร
                       ปาลมน้ํามัน 1,193 ไร และสับปะรด 505 ไร เปนตน
   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19