Page 9 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดเพชรบุรี
P. 9

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                2







                             1) พื้นที่หาดทรายและเนินทราย (Beach and Sand Dune) พื้นที่หาดทราย เปนพื้นที่
                       ระหวางแนวน้ําทะเลขึ้นและน้ําทะเลลง มีลักษณะเปนแนวยาวขนานกับชายฝงทะเลที่เกิดขึ้นจากการ
                       กระทําของคลื่นและกระแสน้ําทะเล สวนพื้นที่เนินทรายหรือสันทรายเปนพื้นที่ที่มีลักษณะนูนเปนโคก
                       เตี้ยๆ และเปนแนวยาวขนานกับชายฝงทะเล มีสภาพพื้นที่ราบเรียบถึงลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอย

                       การระบายน้ําคอนขางมาก มีเนื้อดินเปนดินทรายและมักมีเปลือกหอยปะปนอยูในดิน สีน้ําตาล
                       น้ําตาลปนเหลืองหรือเหลืองปนแดง เชน ชุดดินหัวหิน (Hh) และชุดดินบาเจาะ (Bc)
                             2) ที่ราบชายฝงทะเล (Coastal Plain) เกิดจากคลื่นพัดพาและกระแสลมพัดพาเอาเศษ
                       วัตถุจากทะเล ทั้งโคลน กรวด ทราย และตะกอนตางๆ เขามาทับถมบริเวณชายฝง และลึกเขาไปใน

                       แผนดินมากกวาหาดทราย แบงเปน
                               (1) พื้นที่น้ําทะเลขึ้นถึงในปจจุบัน (Active tidal flats) เปนพื้นที่ที่มีน้ําทะเลขึ้นถึง ดินมี
                       สีคล้ํา อินทรียวัตถุสูงและเปนดินเค็ม (saline soil)  ดินสวนใหญมีศักยภาพที่กอใหเกิดเปนดินกรด
                       กํามะถันหรือเปนดินเปรี้ยวจัด มีสภาพพื้นที่คอนขางราบเรียบ การระบายน้ําเลวมาก เนื้อดินเปนดิน

                       ทรายแปงละเอียดหรือเนื้อดินละเอียด เชน ชุดดินทาจีน (Tc)
                               (2) พื้นที่ที่น้ําทะเลเคยทวมถึง (Former tidal flats) เปนพื้นที่ที่น้ําทะเลเคยทวมถึงใน
                       อดีต เปนชวงตอระหวางตะกอนแมน้ํากับตะกอนน้ําจืด มีสภาพพื้นที่คอนขางราบเรียบ หรือเปนแอง

                       ต่ํามีน้ําขังตลอดป การระบายน้ําเลวมาก มีเนื้อดินเปนดินทรายแปงละเอียดหรือดินเหนียว
                       ที่มีการพัฒนาชั้นดินไมมากนัก สีเทาออน มีจุดประสีน้ําตาลแก น้ําตาลปนเหลือง และน้ําตาลปนเขียว
                       มะกอก เชน ชุดดินบางกอก (Bk) ชุดดินสมุทรปราการ (Sm)
                               (3) ที่ราบลุมระหวางสันทราย (Swale)  เปนพื้นที่ลุมต่ําหลังแนวสันทราย ซึ่งเคยเปน
                       ชายฝงทะเลที่น้ําทะเลเคยทวมถึงมากอน มีสภาพพื้นที่ราบเรียบ เปนดินลึกมาก เนื้อดินเปนทรายถึง

                       ทรายปนดินรวน สีน้ําตาลปนเทาและเทา พบจุดประสีเหลืองปนแดง และน้ําตาลปนเหลือง
                       การระบายน้ําเลวถึงเลวมาก มักอิ่มตัวดวยน้ําตลอดเวลา มีเศษเปลือกหอยปะปนในเนื้อดิน เชน
                       ชุดดินบางละมุง (Blm)

                             3) ที่ราบน้ําทวมถึง (Flood plain) ที่ราบริมแมน้ําหรือลําธาร หนาฝนหรือหนาน้ํา มักมี
                       น้ําทวมเปนครั้งคราว เปนสภาพพื้นที่ที่เกิดจาการทับถมของตะกอนน้ําพา และมีตะกอนเพิ่มมากขึ้น
                       หลังน้ําทวม เปนสวนของสันดินริมน้ํา (Levee)  เปนที่ดอน เกิดจากการทับถมของตะกอนน้ําพา
                       บริเวณริมฝงแมน้ํา เปนสันนูนขนานไปกับริมฝงแมน้ํา การระบายน้ําคอนขางดีถึงดี เนื้อดินคอนขาง

                       หยาบ เชน ชุดดินทามวง (Tm)
                             4) ที่ราบตะกอนน้ําพา (Alluvial plain) เปนบริเวณที่ไดรับอิทธิพลของแมน้ําหรือลําน้ํา
                       สาขา วัตถุตนกําเนิดดินเปนตะกอนน้ําพา (Alluvium) มีสภาพพื้นที่เปนที่ราบขนาดใหญสองฝงแมน้ํา
                       แตละฝงอาจมีที่ราบแบบขั้นบันไดหรือตะพักไดหลายระดับ แบงเปน

                                  (1) ตะพักลําน้ําระดับต่ํา (Low terrace)  เปนที่ลุม มีสภาพพื้นที่ราบเรียบ ดินลึกมาก
                       เนื้อดินอาจเปนดินเหนียวละเอียดถึงดินทรายแปงละเอียด สีเทา น้ําตาลปนเทา และน้ําตาล มีจุดประ
                       สีตางๆ การระบายน้ําคอนขางเลวถึงเลว เชน ชุดดินนครปฐม (Np) และชุดดินปากทอ (Pth)
                                  (2) ตะพักลําน้ําระดับกลางและระดับสูง (Middle and  High terrace) เปนที่ดอน มี

                       สภาพพื้นที่คอนขางราบเรียบถึงลูกคลื่นลอนลาด ดินตื้นถึงชั้นกรวดลูกรังถึงดินลึกมาก เนื้อดินเปนดิน
   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14