Page 44 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดกรุงเทพมหานคร
P. 44

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                               37







                                (2) พื้นที่ที่มีศักยภาพหรือมีความเหมาะสมสําหรับการปลูกขาว แตปจจุบันเกษตรกร
                       ไมไดใชพื้นที่ปลูกขาว โดยมาปลูกพืชชนิดอื่นทดแทน เชน มะพราวและปาลมน้ํามัน ทั้งนี้หากพืชที่
                       ปลูกเปนพืชไร หากในอนาคตขาวราคาดีเกษตรกรอาจกลับมาปลูกขาวไดเหมือนเดิม แตหากเปนไมผล
                       หรือไมยืนตน การกลับมาปลูกขาวอาจเปนเรื่องยาก ดังนั้นอาจสงเสริมในเรื่องของการทําเกษตร

                       รูปแบบอื่น เชน ทําการเกษตรแบบผสมผสานทดแทน
                         4.2 มะพราว
                                 (1) พื้นที่ปลูกมะพราว พบวาเปนพื้นที่ศักยภาพที่มีความเหมาะสมปานกลาง (S2) และ
                       ปจจุบันยังปลูกมะพราวอยู มีเนื้อที่ 3,251 ไร อยูในพื้นที่รวม 9 เขต สวนใหญปลูกอยูในเขตบางขุนเทียน

                       รองลงมาไดแก เขตราษฎรบูรณะ เขตทุงครุ เขตบางบอนและเขตจอมทอง ตั้งอยูในเขตชลประทาน
                                 พื้นที่ดังกลาวนี้ควรสงเสริมและพัฒนาประสิทธิภาพการผลิต ในรูปแบบแปลงใหญ
                       สนับสนุน การปรับปรุงบํารุงดิน เพื่อพัฒนาศักยภาพของที่ดินใหมีความเหมาะสมตอการปลูกมะพราว
                       มากยิ่งขึ้น สนับสนุนมะพราวพันธุดีที่ทนตอโรคแมลง ใหความรูในการกําจัดโรคแมลงศัตรูมะพราวที่

                       เหมาะสม สนับสนุนการจัดตั้งแหลงรับซื้อผลผลิตมะพราวในพื้นที่ และเชื่อมโยงการตลาด โดยมีตลาด
                       รับซื้อผลผลิตมะพราวสํารอง ที่สามารถรองรับผลผลิตทางการเกษตรในชวงที่ผลผลิตลนตลาด หรือเกิน
                       กําลังผลิตของโรงงานแปรรูปในพื้นที่ใกลเคียง พัฒนาสถาบันเกษตรกรใหเขมแข็ง และเปน Smart Farmer

                       โดยนําเทคโนโลยีและนวัตกรรมมาประยุกตใชในการพัฒนาเปนฟารมหรือแปลงเกษตรอัจฉริยะ
                                 (2) พื้นที่ปลูกมะพราว พบวาอยูในพื้นที่ไมมีความเหมาะสม (N) และปจจุบันเกษตรกร
                       ยังคงใชที่ดินปลูกมะพราวอยู 353 ไร พื้นที่ดังกลาวนี้ควรใหความรูเกษตรกรในการปรับเปลี่ยนชนิด
                       พืชใหเหมาะสมตรงตามศักยภาพของพื้นที่ โดยสนับสนุนใหเขารวมโครงการ ตาง ๆ อาทิ โครงการ
                       บริหารจัดการพื้นที่เกษตรกรรม (Zoning by Agri-Map) พรอมทั้งจัดระบบการผลิตและการบริหาร

                       จัดการดิน น้ํา ปุย ที่เหมาะสมสําหรับมะพราว การสนับสนุนแหลงน้ํา และการสงเสริมใหความรูใน
                       การปรับปรุงบํารุงดิน และการทําเกษตรผสมผสาน
                                 (3) พื้นที่ที่มีศักยภาพหรือมีความเหมาะสมสําหรับปลูกมะพราว แตปจจุบันเกษตรกร

                       ไมไดใชพื้นที่ในการปลูกมะพราว จากขอมูลพบวาพื้นที่บางสวนมีการปลูกขาวทดแทนอยู ในกรณีที่
                       ปลูกไมยืนตนชนิดอื่นหรือมีการปลูกไมผลชนิดอื่น การปรับเปลี่ยนพื้นที่ดังกลาวมาปลูกมะพราวเปน
                       เรื่องยาก เนื่องจากมะพราวเปนพืชที่ใชเวลานานกวาจะใหผลผลิตที่คุมทุน แตหากพื้นที่ดังกลาวมีการ
                       ปลูกพืชไร สามารถปลูกมะพราวในลักษณะระบบปลูกพืชผสมกับพืชไรชนิดดังกลาว หรือปลูกใน

                       ลักษณะเกษตรผสมผสานได

                         4.3 ปาลมน้ํามัน

                                     พื้นที่ปลูกปาลมน้ํามันทั้งหมด พบวาเปนพื้นที่ไมมีความเหมาะสม (S3 และ N) และ
                       ปจจุบันยังปลูกปาลมน้ํามันอยู มีเนื้อที่ 290 ไร อยูในพื้นที่เขตหนองจอกทั้งหมด และตั้งอยูในเขต

                       ชลประทาน ทั้งนี้ควรใหการชวยเหลือเกษตรกรที่ทํากินในพื้นที่นี้ โดยสนับสนุนการปรับโครงสราง
                       ที่ดิน ปรับปรุงบํารุงดินสนับสนุนแหลงน้ํา ใหเกษตรกรเลือกปลูกพืชชนิดใหมที่มีความเหมาะสม และ
                       ปาลมน้ํามันเปนพืชยืนตนอายุประมาณ 20 - 25 ป  การปรับเปลี่ยนไปปลูกพืชชนิดอื่นจึงเปนเรื่องยากใน
                       กรณีที่ปาลมน้ํามันหมดอายุ ลงทุนนอยกวาและใหผลตอบแทนที่ดี สงเสริมสินคาเกษตรชนิดอื่น ๆ
   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49