Page 42 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดกรุงเทพมหานคร
P. 42

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                               35







                       น้ําหอมยังคงขยายตัวเพิ่มขึ้น 30 เปอรเซ็นต แนวโนมการสงออกมะพราวน้ําหอมตลอดป 2564 คาดวา
                       จะขยายตัวเพิ่มขึ้น 20 - 30 เปอรเซ็นต  จากป 2563  ในรอบปที่ผานมาราคามะพราวพุงสูงถึงลูกละ
                       15 บาท โดยตนทุนการปลูกมะพราวน้ําหอมอยูที่ลูกละ 3 - 4 บาท เขตบางขุนเทียน กรุงเทพมหานคร
                       เปนอีกแหลงพื้นที่หนึ่งที่มีการทําสวนมะพราวและยังเปนพืชเศรษฐกิจรองลงมาจากขาว สรางรายได

                       ใหกับคนในพื้นที่ ตนกําเนิดเดิมแรกไดมีการนําสายพันธุมะพราวน้ําหอมมาปลูกจากจังหวัดพื้นที่
                       ขางเคียง เชน มะพราวน้ําหอมบานแพว มะพราวน้ําหอมราชบุรี พันธุที่นิยมปลูกไดแกพันธุกนจีบ
                       ลักษณะผลรีมีจีบเปนพู 3 พูชัดเจน น้ํามะพราวมีรสหวาน กลิ่นหอม จากการวิเคราะหสภาพพื้นที่ของ
                       เขตบางขุนเทียน พบวามีความแตกตางจากพื้นที่ปลูกมะพราวในภาคกลาง เนื่องจากเปนพื้นที่ติด

                       ทะเลทําใหดินมีความอุดมสมบูรณ ซึ่งเกิดจากตะกอนที่พัดพามากับแมน้ําเจาพระยาทําใหในผืนดิน
                       สะสมธาตุอาหารไวคอนขางสูง พื้นที่ติดกับชายทะเลที่มักเกิดปรากฏการณน้ําขึ้นน้ําลง ทําใหดินไดรับ
                       อิทธิพลจากความเค็มของน้ํากรอย ทําใหน้ํามีคาความเค็มสูง ซึ่งเหมาะแกการปลูกพืชทนเค็ม ซึ่งไดแก
                       มะพราว ผสมผสานกันทําใหมะพราวที่เพาะปลูกในพื้นที่นี้มีรสชาติหอมหวานเปนที่นิยมของผูบริโภค


                              จากขอมูลของสํานักงานเกษตรพื้นที่กรุงเทพมหานคร ป 2563 พบวา การปลูกมะพราวใน
                       พื้นที่ไดมีการสงเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ โดยการรวมกลุมจัดตั้งมะพราวน้ําหอมแปลงใหญขึ้น
                       ใหม 1 แปลง ตั้งอยูในพื้นที่แขวงทาขาม เขตบางขุนเทียน เกษตรกรเขารวมกลุม 33 ราย พื้นที่ 291 ไร
                       จากจุดแข็งของสภาพพื้นที่ที่เหมาะสม เปนที่ตองการของตลาด การสงเสริมดานการผลิตมะพราวนอกจาก

                       จะเปนพืชเศรษฐกิจอนาคตไกลของจังหวัดแลวยังสอดคลองกับ “ยุทธศาสตรมะพราวเพื่อ
                       อุตสาหกรรม พ.ศ. 2560  –  2579” ซึ่งปจจุบันรัฐบาลใหความสําคัญกับการสงเสริมพัฒนาและ
                       แกไขปญหาการผลิตมะพราว ทั้งระยะเรงดวน ระยะปานกลาง และระยะยาว

                              การพิจารณาสงเสริมการผลิตมะพราวในพื้นที่กรุงเทพมหานครจึงควรมุงเนนในเรื่องของ

                       การสงเสริมการใหความรูแกเกษตรกร การลดตนทุนการผลิต การบริหารจัดการดิน น้ํา ใหมีความเหมาะสม
                       และอุดมสมบูรณ สงเสริมดานการปรับปรุงคุณภาพการผลิตโดยการใชเทคโนโลยี นวัตกรรมเปนหลัก
                       การแปรรูปสินคา เพื่อเพิ่มมูลคาผลผลิตตอไป

                         3.4 พืชสมุนไพร


                              ดวยนโยบายของรัฐบาลที่ใหการสนับสนุนแนวคิด BCG (Bio-Circular-Green Economy)
                       หรือ เศรษฐกิจชีวภาพในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศ พืชสมุนไพรเปนเรื่องหนึ่งที่ไดรับความ
                       สนใจ เนื่องจากเปนแหลงของสารสําคัญที่นําไปใชประโยชนในดานตางๆ เชน การแพทย ผลิตภัณฑ

                       เสริมอาหาร และเครื่องสําอาง จึงสนับสนุนใหพืชสมุนไพรเปนพืชทางเลือกในป 2564 โดยดําเนินการ
                       ภายใตตลาดนําการผลิต และหากทิศทางของตลาดสมุนไพรขยายตัวเพิ่มมากขึ้นจะชวยใหเกษตรกรผูปลูก
                       พืชสมุนไพร มีรายไดและความมั่นคงในการดํารงชีพ จากฐานขอมูล Agri-Map Online กรุงเทพมหานคร
                       มีพื้นที่ศักยภาพที่สามารถสงเสริมใหปลูกพืชสมุนไพรไดหลายชนิด ไดแก กระชายดํา ขมิ้นชัน และ

                       บัวบก

                              กระชายดํา เปนพืชสมุนไพรที่มีความตองการในตลาดสูง เปนที่นิยม มีถิ่นกําเนิดในเอเชีย
                       ตะวันออกเฉียงใต สําหรับประเทศไทยนั้นมีการปลูกกระชายดํามากในจังหวัดเลย ตาก กาญจนบุรี
   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47