Page 41 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดกรุงเทพมหานคร
P. 41

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                               34







                               4) แนวทางการจัดการ

                                     ถึงแมวาปาลมน้ํามันจะเปนพืชเศรษฐกิจที่มีพื้นที่เพาะปลูกเปนอันดับ 3 ของ
                       กรุงเทพมหานคร แตทั้งหมดปลูกในพื้นที่ที่มีศักยภาพที่ไมเหมาะสมสําหรับปลูกปาลมน้ํามัน ซึ่งจะตองมี
                       การปรับเปลี่ยนพื้นที่ หรือลงทุนสําหรับปจจัยการผลิตสูง เพื่อใหมีพื้นที่ความเหมาะสมสําหรับปลูก
                       ปาลมน้ํามันในพื้นที่นั้นๆ จึงไมเหมาะสมสําหรับแนะนําเกษตรกรรายยอยในการขยายพื้นที่ปลูก


                       3. พืชเศรษฐกิจอนาคตไกลของกรุงเทพมหานคร

                         3.1 กลวยไม เปนหนึ่งในสินคาเกษตรที่เปนสัญลักษณของไทย เนื่องจากกลวยไมมีความสําคัญ
                       ทางดานการสงออกและการคาภายในประเทศ โดยประเทศไทยเปนผูสงออกอันดับ 1 ของโลก กลวยไม
                       นับวาเปนสวนหนึ่งในสินคาที่เปนสัญลักษณของไทย พันธุที่สงออกหลัก ไดแก สกุลหวายอะแรนดา
                       อะแรคนิส ออนซเดียมี และแวนดา ผลผลิตกลวยไมไทย เปนผลิตเพื่อสงออกประมาณ 53 เปอรเซ็นต

                       ผลิตเพื่อใชในประเทศ 47 เปอรเซ็นต  ชวงที่มีผลผลิตสูง คือเดือนมิถุนายน และตุลาคม กลวยไมยังเปน
                       สินคาเกษตรที่โดดเดนของกรุงเทพมหานคร สําหรับกลวยไมที่ผลิตในพื้นที่ (กลวยไมตัดดอกเมือง
                       รอน) จากฐานขอมูลทะเบียนเกษตรกร 2563 (กรมสงเสริมการเกษตร) กรุงเทพมหานคร พบวา พื้นที่

                       ขึ้นทะเบียนเกษตรกรเพาะปลูกกลวยไม 1,222 ไร สวนใหญปลูกในเขตทวีวัฒนา เขตบางแค เขตตลิ่ง
                       ชัน เขตหนองแขม เปนตน มีผลผลิตจะออกสูตลาดตลอดทั้งป เฉลี่ย 2,324 กิโลกรัมตอไร พันธุที่ปลูก
                       มาก เชน กลวยไมสกุลหวาย สกุลมอคคารา พันธุโจแดง เปนตน ในป 2560 ไดมีการสงเสริม
                       การเกษตรแบบแปลงใหญ โดยจัดตั้งกลวยไมแปลงใหญ 1 แปลง ตั้งอยูในพื้นที่แขวงบางเชือกหนัง
                       เขตตลิ่งชัน มีเกษตรกรเขารวมกลุม 30 ราย พื้นที่ 114.25 ไร ในปจจุบันธุรกิจการสงออกกลวยไม

                       ไดรับผลกระทบบางจากสถานการณการแพรระบาดของโควิด -19 แตอนาคตคาดวาเมื่อเหตุการณเขา
                       สูสภาวะปกติ การผลิตกลวยไมเพื่อการสงออกยังเปนที่ตองการของตลาดเปนอยางสูง

                         3.2 สมเขียวหวาน (บางมด) เปนสินคาเกษตรที่เปนอัตลักษณประจําจังหวัด มีชื่อเสียงมา

                       ยาวนานเปนที่รูจักและนิยมของผูบริโภค เปนสินคาเกษตรที่มีสิ่งบงชี้ทางภูมิศาสตร หรือ
                       Geographical Indications:  GI ขึ้นทะเบียนโดยกรมทรัพยสินทางปญญา ตั้งแตวันที่ 1 มิถุนายน
                       พ.ศ. 2560 ที่ผานมามีลักษณะเดนเปนสมเขียวหวานที่มีลักษณะทรงผลกลมมล หรือแปนเล็กนอย
                       ผิวผลเรียบ เปลือกบาง เนื้อสม ภายในเปนสีสมอมเหลือง ฉ่ําน้ํา ซังนิ่ม มีรกนอย กลีบแยกออกจากกันงาย

                       เมื่อแกะแลวมีกลิ่นติดจมูก มีรสชาติอรอยหวานอมเปรี้ยว พื้นที่เพาะปลูกสมเขียวหวานบางมดสวนใหญ
                       เปนที่ราบลุมริมฝงแมน้ําเจาพระยา สภาพดินเปนชุดดินธนบุรี มีปริมาณโปรแตสเซียมและฟอสฟอรัส
                       สูงกวาพื้นที่อื่น มีระดับน้ําใตดินตื้น ในชวงฤดูฝนจะมีน้ําจืดจากภาคเหนือไหลผาน และในชวงฤดูแลง
                       จะมีน้ําเค็มไหลยอนขึ้นตามคลองสายตางๆทําใหดินมีลักษณะที่เรียกวา  “ลักจืด ลักเค็ม” สงผลใหสม

                       บางมดมีรสชาติที่โดดเดนเปนเอกลักษณ จากขอมูลของสํานักงานเกษตรพื้นที่กรุงเทพมหานคร พบวา
                       ปจจุบันพื้นที่ใหผลผลิตมีจํานวนลดลงมากเหลือเพียง 45 ไร ผลผลิต 78.3 ตัน

                         3.3 มะพราวออนหรือมะพราวน้ําหอม ปจจุบันมะพราวออนจึงเปนพืชที่นิยมบริโภคทั้งภายใน
                       และตางประเทศ เนื่องจากมะพราวออนของไทยมีรสชาติที่หอมหวานดีกวา จากสถานการณที่ผานมา

                       ในป 2563 ที่ประเทศไทยและทั่วโลกตองเผชิญกับภาวการณแพรระบาดโควิด-19 แตการสงออกมะพราว
   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46